ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลองคูเมืองเดิม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ย้ายป้ายโครงการวิกิประเทศไทยไปหน้าพูดคุย
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''คลองคูเมืองเดิม (Khlong Khu Mueang Doem)''' เป็น[[คลองขุด]]ที่[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ขุดขึ้นเป็นคูเมืองด้านตะวันออกของ[[กรุงธนบุรี]]ซึ่งกินอาณาเขตเลยมาทางด้านฝั่งพระนคร ทรงโปรดโดยโปรดฯ ให้ขุดคูเมืองออกแม่น้ำเจ้าพระยาทั้ง 2 ด้าน คือ ด้านเหนือที่[[ท่าช้างวังหน้า]] ด้านใต้ที่[[ปากคลองตลาด]] ดินจากการขุดคลองโปรดให้พูนขึ้นเป็นเชิงเทิน ตั้งค่ายไม้ทองหลางทั้งต้นตลองแนวคลองเพือป้องกันข้าศึก
 
'''คลองคูเมืองเดิม''' เป็น[[คลองขุด]]ที่[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]ทรงโปรดเกล้าฯให้ขุดขึ้นเป็นคูเมืองด้านตะวันออกของ[[กรุงธนบุรี]]ซึ่งกินอาณาเขตเลยมาทางด้านฝั่งพระนคร ทรงโปรดให้ขุดคูเมืองออกแม่น้ำเจ้าพระยาทั้ง ๒ ด้าน คือ ด้านเหนือที่[[ท่าช้างวังหน้า]] ด้านใต้ที่[[ปากคลองตลาด]] ดินจากการขุดคลองโปรดให้พูนขึ้นเป็นเชิงเทิน ตั้งค่ายไม้ทองหลางทั้งต้นตลองแนวคลองเพือป้องกันข้าศึก
 
เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]ทรงย้ายราชธานีมาอยู่ฝั่งพระนคร โปรดให้ขุดคูเมืองใหม่เพื่อขยายอาณาเขตราชธานี คลองคูเมืองเดิมจึงกลายเป็นเส้นทางคมนาคมของราษฎร ไม่ได้ใช้ประโยชน์เป็นคูเมืองอีกต่อไป
 
ประชาชนเรียกชื่อคลองนี้ตามสถานที่ที่คลองผ่าน เช่น ปากคลองด้านเหนือผ่านโรงไหมหลวง เรียก "คลองโรงไหมหลวง" ปากคลองด้านใต้เป็นตลาดที่คึกคักทั้งบนบกและในน้ำ จึงเรียก "ปากคลองตลาด" ส่วนตอนกลางระหว่าง[[คลองหลอดวัดราชนัดดา]] ([[คลองหลอด]]ข้าง[[วัดบูรณศิริมาตยารามบุรณศิริมาตยาราม]]) กับคลองหลอดข้าง[[คลองหลอดวัดราชบพิธ]] ได้มีประกาศของสุขาภิบาล ร.ศ. ๑๒๗127 ให้เรียกว่า "คลองหลอด" ซึ่งหมายถึงคลองที่อยู่ระหว่างคลองหลอดทั้งสอง แต่ภายหลังคนทั่วไปมักเรียกคลองนี้ตลอดสายว่า "คลองหลอด" ซึ่งผิดจากข้อเท็จจริง
เนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐200 ปี รัฐบาลจึงมีมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ [[7 ธันวาคม]] [[พ.ศ. ๒๕๒๕ 2525]] ให้เรียกชื่อคลองให้ถูกต้องตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่า "คลองคูเมืองเดิม"
 
 
==อ้างอิง==