ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาสด้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
มาสด้าก่อตั้งเมื่อ [[ค.ศ. 1920]] ในชื่อบริษัท Toyo Cork Kogyo โดยช่วงแรกทำธุรกิจเครื่องจักรกลส่วนประกอบยานพาหนะ และผลิตอาวุธให้กองทัพญี่ปุ่นในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] บริษัทเปลี่ยนชื่อเป็น "มาสด้า" เมื่อ [[ค.ศ. 1984]] แต่ได้ผลิดรถยนต์มาสด้าคันแรกตั้งแต่ปี [[ค.ศ. 1960]] รถยนต์สี่ล้อรุ่นแรกคือรุ่น มาสด้า R360
 
บริษัท[[ฟอร์ด|ฟอร์ดมอเตอร์]]ได้เข้าถือ[[หุ้น]] 25% ในมาสด้าเมื่อ [[ค.ศ. 1979]] ก่อนจะเพิ่มมาเป็น 33.4% เมื่อมาสด้าประสบปัญหาทางการเงินในปี [[ค.ศ. 1996]] ในปัจจุบันมีรถยนต์หลายรุ่นที่ฟอร์ดและมาสด้าร่วมกันผลิต หรือฟอร์ดนำรถของมาสด้าไปปรับปรุงต่อเป็นรุ่นใกล้เคียง ก่อนที่ในปีเช่น [[ค.ศ.มาสด้า 2008]]ทรีบิ้วกับฟอร์ด เอสเคป มาสด้า 323 โปรทีเจกับฟอร์ดจึงขายหุ้นทิ้ง เป็นผลมาจากวิกฤติเศรษฐกิจในปีเดียวกันเลเซอร์ เพื่อปลดแอกมาสด้าให้เป็นอิสระจนถึงปัจจุบันเป็นต้น
 
ในอดีต มาสด้าเองเป็นผู้นำด้านระบบ[[เครื่องยนต์โรตารี]] ปัจจุบันมาสด้าได้หันมาใช้เครื่องยนต์ Skyactive แทน
ในอดีต มาสด้าได้นำ[[เครื่องยนต์โรตารี]]มาใช้ในรถยนต์ และในช่วงนั้นมีบริษัทรถยนต์หลายรายเคยซื้อลิขสิทธิ์ในการนำไปพัฒนาต่อ แต่ก็ยกเลิกแผนไป แต่มาสด้ายังคงเห็นช่องทางในการพัฒนาต่อไป แม้เคยทำให้มาสด้าประสบกับวิกฤติหนักก็ตาม จนมาสด้าได้พัฒนารถสปอร์ตรุ่นแรก RX-7 และรถยนต์นั่งขนาดเล็กรุ่น 323 ขับเคลื่อนล้อหน้ารุ่นแรก และทำให้มาสด้าสร้างประวัติศาสตร์ ทำยอดขายชนะ Toyota Corolla ในญี่ปุ่นได้ จนคว้าตำแหน่ง Japan Car of the Year 1984 ได้ในที่สุด
 
ในปัจจุบัน มาสด้าได้พัฒนาเทคโนโลยี Skyactiv ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่สร้างรถยนต์ขับสนุกและประหยัดน้ำมันตามแนวคิด Zoom-Zoom ของมาสด้า โดยพัฒนาทุกด้านทั้งเครื่องยนต์เบนซิน เครื่องยนต์ดีเซล ระบบเกียร์ ช่วงล่างและโครงสร้างตัวถัง
 
== ประวัติมาสด้าในประเทศไทย ==
อยู่ระหว่างรอการเพิ่มเติมข้อมูล
ชื่อของมาสด้าเป็นที่รู้จักกันดีในประเทศไทยมา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2494 ในฐานะผู้ร่วมทุนของบริษัท กมลสุโกศล จำกัด
รถมาสด้ารุ่นแรกที่จำหน่ายในประเทศไทยเป็นรถกระบะ 3 ล้อที่นำเข้าโดยตรงจากเมืองฮิโรชิม่า และอีก 9 ปีต่อมาก็ได้แนะนำรถมาสด้า คูเป้ R360 ซึ่งทำให้ชื่อเสียงของมาสด้าเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี ในฐานะผู้ผลิตรถยนต์ชั้นนำ ในปีพ.ศ. 2504 บริษัท กมลสุโกศล จำกัด ได้รับแต่งตั้งให้เป็น ผู้แทนจำหน่ายแต่เพียงผู้เดียว และโรงงานประกอบ รถยนต์ของมาสด้าในประเทศไทยแห่งแรกเริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2518 ในนามของบริษัท สุโกศล มาสด้า อุตสาหกรรม รถยนต์ จำกัด
 
=== รุ่นรถยนต์ที่ผลิตหรือนำเข้าในปัจจุบันในประเทศไทย ===
ในปีพ.ศ. 2533 บริษัท กิจกมลสุโกศล จำกัด และมาสด้า มอเตอร์ คอร์ปอเรชั่น ได้ร่วมทุนจัดตั้ง บริษัท สุโกศล มาสด้า จำกัด เพื่อเป็นผู้แทนจำหน่าย แต่เพียงผู้เดียวของมาสด้า และในปีเดียวกันนั้นเองก็ได้จัดตั้ง บริษัท สุโกศล มาสด้า เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด ขึ้นเพื่อผลิตชุดส่งกำลังของรถยนต์มาสด้า ในประเทศไทย
* รถยนต์ซีดานขนาด 4 ประตูขนาดเล็กมาก [[มาสด้า ดีมิโอ|มาสด้า 2 เอลิแกนซ์]] (Mazda 2 Elegance)
* รถยนต์แฮทซ์แบค 5 ประตูขนาดเล็กมาก [[มาสด้า ดีมิโอ|มาสด้า 2 สปอร์ต]] (Mazda 2 Sports)
* รถยนต์ซีดานขนาด 4 และ 5 ประตูขนาดเล็ก [[มาสด้า อเล็กซา|มาสด้า 3]] (Mazda 3)
* รถสปอร์ตเปิดประทุนขนาดเล็ก [[มาสด้า MX-5]] (Mazda MX-5)
* รถกระบะเพื่อการพาณิชย์ขนาด 1 ตัน [[มาสด้า BT-50|มาสด้า BT-50 Pro]] (Mazda BT-50 Pro)
* รถยนต์เอนกประสงค์ครอสโอเวอร์ [[มาสด้า CX-9]] (Mazda CX-9)
 
=== รุ่นรถยนต์ที่เลิกผลิตหรือนำเข้าไปแล้วในประเทศไทย ===
ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2538 มาสด้าได้ตกลงร่วมทุนจัดตั้งบริษัท ออโต้ อัลลายแอนซ์ (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งเป็นโรงงานผลิตและประกอบรถยนต์ แห่งใหม่ที่จังหวัดระยอง และเริ่มทำการผลิต ในเดือนธันวาคม ปีพ.ศ. 2540 บนเนื้อที่ 529 ไร่ด้วยเงินลงทุน 500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ด้วยกำลัง การผลิต 135,000 คันต่อปีในปัจจุบัน ออโต้ อัลลายแอนซ์ (ประเทศไทย) ได้ผลิตรถกระบะขนาด 1 ตัน รุ่น B2500 สำหรับ ส่งออกและสำหรับจำหน่ายภายใน ประเทศ และรถยนต์นั่งรุ่น 323 โปรทีเจ
* รถยนต์ซีดาน 4 ประตูขนาดเล็ก [มาสด้า 121] (Mazda 121)
 
* รถสปอร์ตเปิดประทุนขนาดกลาง [[มาสด้า RX-8]] (Mazda RX-8)
โรงงาน ออโต้ อัลลายแอนซ์ (ประเทศไทย) ได้รับการรับรองมาตรฐานการผลิต ISO 9002 และได้รับรางวัลมากมาย ทั้งในประเทศไทยและใน สหราชอาณาจักรในด้านคุณภาพรถยนต์ โดยโรงงานได้รับการออกแบบให้ทรงประสิทธิภาพมากที่สุด และในขณะเดียวกันให้ส่งผลกระทบต่อ สภาพแวดล้อม น้อยที่สุดตามนโยบายทางด้านสิ่งแวดล้อมของมาสด้า
* รถยนต์ซีดาน 4 ประตูขนาดเล็ก [[มาสด้า แฟมิเลีย|มาสด้า 323]] (Mazda 323)
 
* (รุ่นพัฒนา) [[มาสด้า แฟมิเลีย|มาสด้า 323 แอสติน่า]] (Mazda 323 Astina)
ในปีพ.ศ. 2542 ด้วยความเชื่อมั่นในศักยภาพของประเทศไทย บริษัท มาสด้า มอเตอร์ คอปอเรชั่น จึงได้เพิ่มสัดส่วน การถือหุ้น โดยเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในบริษัท มีการจัดตั้งคณะผู้บริหารใหม่ และ ได้เปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น บริษัท มาสด้า เซลส์ (ประเทศไทย) จำกัด ภายใต้โครงสร้างใหม่นี้ แนวทางการบริหารเน้นไปที่การตลาด การขาย การบริการลูกค้า และการสนับสนุนผู้แทนจำหน่ายเพื่อนำเสนอรถยนต์มาสด้ารุ่นต่างๆ มากยิ่งขึ้น และเพื่อให้บริการที่ดีที่สุดแก่ลูกค้า
* (รุ่นพัฒนา) [[มาสด้า แฟมิเลีย|มาสด้า 323 โปรทีเจ]] (Mazda 323 Protege)
 
* รถยนต์ซีดาน 4 ประตูขนาดกลาง [[มาสด้า คาเพลลา|มาสด้า 626]] (Mazda 626)
ปี พ.ศ. 2545 มาสด้าได้เปิดตัวแนวความคิด Zoom-Zoom Brand Concept เป็นครั้งแรกในเมืองไทย และถือเป็นบริษัทรถยนต์เพียงแห่งเดียวที่มีเอกลักษณ์ของผลิตภัณฑ์และการตลาดอย่างโดดเด่นชัดเจน
* รถยนต์ซีดาน 4 และ 5 ประตูขนาดกลาง [[มาสด้า โครโนส]] (Mazda Cronos)
* รถยนต์เพื่อการพาณิชย์ขนาด 1 ตัน [[มาสด้า บี-ซีรีส์|มาสด้า ไฟท์เตอร์]] (Mazda Fighter)
* รถยนต์เพื่อการพาณิชย์ขนาด 1 ตัน [[มาสด้า บี-ซีรีส์|มาสด้า ธันเดอร์]] (Mazda Thunder)
* รถยนต์เพื่อการพาณิชย์ขนาดเล็ก [[มาสด้า แฟมิเลีย]] (Mazda Familia)
* รถยนต์เอนกประสงค์ SUV ขนาดเล็ก [[มาสด้า ทรีบิ้ว]] (Mazda Tribute)
* รถยนต์ซีดาน 4 ประตูขนาดใหญ่ [[มาสด้า ลูเซ|มาสด้า 929]] (Mazda 929)
* รถยนต์เอนกประสงค์ MPV [[มาสด้า MPV]] (Mazda MPV)
 
== เครือข่ายจำหน่ายรถยนต์ของมาสด้า ==
ในอดีต มาสด้าในญี่ปุ่นได้มีการแยกประเภทตัวแทนจำหน่ายและยี่ห้อรถยนต์เช่นเดียวกับผู้ผลิตรถยนต์รายอื่นๆ ในญี่ปุ่น โดย'''อมาติ''' '''แองฟินิ'''และ'''ยูโนส''' เป็นเครือข่ายและยี่ห้อสำหรับรถยนต์ระดับหรู ส่วน'''ออโต้แซม'''นั้นเป็นเครือข่ายและยี่ห้อสำหรับรถยนต์ประเภท K-Car แต่ในปี 1996 ทางมาสด้าได้ยกเลิกยี่ห้อรถยนต์เหล่านี้เพื่อไม่ให้เกิดความสับสน แต่ยังมีตัวแทนจำหน่ายในชื่อนั้นๆ เหลืออยู่ในญี่ปุ่น แต่ก็มีน้อยมาก
 
ในประเทศไทย เคยนำรถยนต์ในเครือข่ายดังกล่าวมาขายโดย โดยเป็นรถของยี่ห้อออโต้แซม โดยที่นำมาขายคือ '''ออโต้แซม เรวิว''' (Autozam Revue) ประมาณช่วงปี 1992 โดยตั้งชื่อในไทยว่า '''มาสด้า 121''' (Mazda 121) แต่ด้วยความที่ไม่พร้อมจะทำตลาดอย่างจริงจัง จึงเลิกขายไปในช่วงประมาณปี [[พ.ศ. 2536]]-[[พ.ศ. 2538|2538]]1995
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 51 ⟶ 61:
* [http://www.mazdaclub.net/ The Place where good Friendship begins]
* [http://www.thaimazda3.com/ เว็บไซต์ของคนรัก Mazda 3]
* [http://www.bt-50.com/ เว็บไซต์ของคนรัก bt-50 และ bt-50pro]
* [http://www.mazda2thailand.com/ Mazda 2 Thailand Club เว็บไซต์ของคนรัก มาสด้า 2]
* [http://www.mazdacx3club.com/ Mazda CX-3 Club เว็บไซต์ของคนรัก มาสด้า ซีเอ็กซ์ 3]
 
[[หมวดหมู่:ยี่ห้อรถยนต์]]
[[หมวดหมู่:ฟอร์ด]]
[[หมวดหมู่:มาสด้า]]
{{โครงรถ}}
 
[[af:Mazda]]
[[ar:مازدا]]
[[az:Mazda]]
[[be:Mazda]]
[[be-x-old:Mazda]]
[[bg:Мазда]]
[[ca:Mazda]]
[[cs:Mazda]]
[[da:Mazda]]
[[de:Mazda]]
[[el:Mazda]]
[[en:Mazda]]
[[eo:Mazda]]
[[es:Mazda]]
[[fa:مزدا]]
[[fi:Mazda]]
[[fr:Mazda]]
[[gl:Mazda]]
[[he:מאזדה]]
[[hr:Mazda]]
[[ht:Mazda]]
[[hu:Mazda]]
[[id:Mazda]]
[[it:Mazda]]
[[ja:マツダ]]
[[ko:마쓰다]]
[[lt:Mazda Motor Corporation]]
[[lv:Mazda]]
[[nah:Mazda]]
[[nl:Mazda]]
[[no:Mazda]]
[[pl:Mazda]]
[[pt:Mazda]]
[[ro:Mazda]]
[[ru:Mazda]]
[[sah:Mazda]]
[[sco:Mazda]]
[[simple:Mazda]]
[[sk:Macuda]]
[[sl:Mazda]]
[[sq:Mazda]]
[[sr:Мазда]]
[[sv:Mazda]]
[[tr:Mazda]]
[[uk:Mazda]]
[[vi:Mazda]]
[[yi:מאזדא]]
[[zh:马自达]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/มาสด้า"