ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NOKSAAK (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''สัมพัทธภาพทั่วไป'''หรือ'''ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป''' ({{lang-en|General relativity หรือ General Theory of Relativity}}) เป็นทฤษฎีความโน้มถ่วงแบบเรขาคณิตซึ่ง[[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]]จัดพิมพ์ใน ค.ศ. 1916 และเป็นการพรรณนาความโน้มถ่วงปัจจุบันในวิชาฟิสิกส์สมัยใหม่ สัมพัทธภาพทั่วไปวางนัยทั่วไป[[สัมพัทธภาพพิเศษ]]และ[[กฎความโน้มถ่วงสากลของนิวตัน]] โดยให้การพรรณนารวมความโน้มถ่วงเป็นคุณสมบัติเรขาคณิตของปริภูมิและเวลา หรือ[[ปริภูมิ-เวลา]] โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความโค้งของปริภูมิ-เวลาสัมพันธ์โดยตรงกับพลังงานและ[[โมเมนตัม]]ของสสารและรังสีที่มีอยู่ทั้งหมด ความสัมพันธ์นี้เจาะจงโดยสมการสนามไอน์สไตน์ ซึ่งเป็นระบบสมการเชิงอนุพันธ์ย่อย
[[ไฟล์:spacetime_curvature.png|thumb|right|450px|รูป 2 มิติแสดงการบิดเบี้ยวของปริภูมิเวลา ซึ่งสสารเป็นตัวทำให้ปริภูมิเวลาโค้งงอ ความโค้งนี้จะถูกตีความเป็นความโน้มถ่วง]]
 
'''สัมพัทธภาพทั่วไป''' หรือ '''ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป''' ({{lang-en|General relativity}} หรือ General Theory of Relativity) คือ[[ทฤษฎี]]เชิง[[เรขาคณิต]]ของ[[แรงโน้มถ่วง|ความโน้มถ่วง]]และ[[จักรวาลวิทยา|เอกภพวิทยา]] เสนอโดย[[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]]ใน [[พ.ศ. 2458]] โดยในทฤษฎีนี้:
* [[กาล-อวกาศ]] (Spacetime) เป็น[[แมนิโฟลด์]]แบบ[[โลเร็นตซ์]]ที่มี[[ความโค้งงอ]] ใน 4 มิติ (curved 4-dimensional Lorentzian manifold)
* [[กาล-อวกาศ]] จะโค้งงอตามอิทธิพลของ [[มวล]]/[[พลังงาน]] และ [[โมเมนตัม]] หรือ [[เทนเซอร์ความเค้น-พลังงาน]] ที่อยู่ข้างใน
* ความสัมพันธ์ระหว่าง[[เทนเซอร์ความเค้น-พลังงาน]]และ[[ความโค้งงอ]]ของ[[กาล-อวกาศ]] ถูกควบคุมโดย[[สมการสนามของไอน์สไตน์]] (Einstein's field equations) และ
* [[ความเฉื่อย|การเคลื่อนที่แบบเฉื่อย]] (Inertial motion) จะเกิดขึ้นในช่วง[[อวกาศมิงคอฟสกี|ไทม์ไลค์]] (timelike) และอยู่ในสภาพ[[นัล]][[จิโอเดสิค]] (null geodesics) ของ[[กาล-อวกาศ]]
 
ใจความสำคัญในทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปคือ[[การตกเสรี]] (freefall) นั้นที่จริงแล้วคือกิริยาการเฉื่อยแบบหนึ่ง ซึ่งหมายความว่า[[แรงโน้มถ่วง|ความโน้มถ่วง]]นั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กับ[[แรง]]ที่กระทำ เช่นโดยแทนที่การที่คนยืนอยู่บนพื้นโลกนั้นคือการ ที่พื้นโลกรองรับ "แรงโน้มถ่วง" เอาไว้ซึ่งก่อให้เกิดการเร่งทางฟิสิกส์อย่างต่อเนื่องซึ่งแทนที่จะรอบรับแรงโน้มถ่วงธรรมดา ๆ มันจะก่อให้เกิดค่าความต้านเชิงกลศาสตร์บนพื้นที่ที่คนกำลังยืนอยู่
 
===สมการของไอน์สไตน์===