ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาร์แซล ดูว์ช็อง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{แก้ภาษา}}
{{ต้องการสรุป}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
 
{{Infobox artist
| bgcolour = #76A8FF
| name = มาเซลมาร์แซล ดูช็องป์(Marcel Duchamp)ดูว์ช็อง
| image = Marcel Portrait.jpg
| imagesize = 250px
| birth_name = อ็องรี-รอแบร์-มาร์แซล ดูว์ช็อง
| birth_name = Henri Robert Marcel Duchamp
| birth_date = {{birth date|df=yes|1887|7|28}}
| birth_place = [[Blainvilleแบล็งวีล-Crevonเครอวง]], ฝรั่งเศส
| death_date = {{death date and age|df=yes|1968|10|2|1887|7|28}}
| death_place = [[Neuillyเนอยี-surซูร์-Seineแซน]], ฝรั่งเศส
| nationality = ฝรั่งเศส, กลายเป็นสัญชาติพลเมืองอเมริกันในปี ค.ศ. 1955
| field = จิตรกรรม, ประติมากรรม, ภาพยนตร์
| training =
| movement = [[Dadaดาดา]], [[เซอร์เรียลลิซึม]][[Surrealismลัทธิเหนือจริง]]
| works = ''[[Nude Descending a Staircase, No. 2]]'' (1912)<br>''[[Fountain (Duchamp)|Fountain]]'' (1917)<br>''[[The Bride Stripped Bare By Her Bachelors, Even]]'' (1915–23)<br>''[[Etant donnés]]'' (1946–66)
| patrons =
เส้น 22 ⟶ 20:
}}
 
'''มาเซลอ็องรี-รอแบร์-มาร์แซล ดูช็องป์ดูว์ช็อง''' ({{lang-fr|Henri-Robert-Marcel Duchamp}})'''; (28 กรกฎาคม ค.ศ. 1887 – 2 ตุลาคม ค.ศ. 1968) เกิดที่ Blainville Crevonแบล็งวีล-เครอวง, [[ประเทศฝรั่งเศส]]
==มาเซล ดูช็องป์ (Marcel Duchamp)==
'''มาเซล ดูช็องป์ ({{lang-fr|Marcel Duchamp}})''' (28 กรกฎาคม 1887 – 2 ตุลาคม 1968) เกิดที่ Blainville Crevon,[[ประเทศฝรั่งเศส]]
 
[[ไฟล์:มาเซลjpg.jpeg|thumbnail|left]]
 
==ชีวประวัติ==
เขาได้เติบโตมาในครอบครัวที่สมาชิกมีความเป็นศิลปินภายในตัวสูง ครอบครัวของดูช็องป์ดูว์ช็องชอบที่จะเล่นหมากรุก, วาดภาพ, ทำดนตรี
ตอนอายุ 10 ขวบ เขาได้เดินตามรอยพี่ชายของเขา เมื่อเขาออกจากบ้านและเริ่มศึกษาที่โรงเรียนปีแยร์-กอร์แนย์ (Lycée Pierre-Corneille) ใน [[รูอ็อง]] เขาเชี่ยวชาญทางด้านสาขาวิชา[[คณิตศาสตร์]] จนได้รับรางวัลทางด้านสาขาวิชานี้ถึงสองรางวัล อีกทั้งยังได้รับรางวัลทางด้านการวาดภาพศิลปะจากคุณครูของเขา ที่พยายามจะกันเด็กนักเรียนให้ออกจากศิลปะแบบ ใน[[อิมเพรสชันนิซึมลัทธิประทับใจ]] (Impressionismimpressionism), [[อิมเพรสชันนิซึมลัทธิประทับใจยุคหลัง]] (Postpost-Impressionismimpressionism) และอิทธิพลจำพวก[[อาว็อง-การ์ด]] (avant-garde) อื่น ๆ
 
และอิทธิพลจำพวก[[อวองการ์ด]](Avangarde)อื่นๆ
อย่างไรก็ตาม เขาเริ่มวาดภาพอย่างจริงจังในครั้งแรกเมื่ออายุ 14 ปี โดยเป็นการวาดเส้นและการใช้สีน้ำ ในช่วงฤดูร้อน เขาได้วาดภาพทิวทัศน์ในรูปแบบของ[[อิมเพรสชันนิซึม]](Impressionism) ลัทธิประทับใจโดยใช้สีน้ำมัน และไม่กี่ปีถัดมาเขาได้กลายเป็นประชากรของอเมริกา พลเมืองอเมริกันในปี ค.ศ. 1905
 
==ความสัมพันธ์และชีวิตการแต่งงาน==
ในเดือนมิถุนายน ปีค.ศ. 1927, ดูช็องป์ดูว์ช็องได้สมรสกับ Lydie Sarazin-Lavassor และได้หย่ากันในหกเดือนต่อมา ซึ่งมีข่าวลือว่าตัวเขาถูกคลุมถุงชนในการแต่งงานครั้งนี้เนื่องจาก Sarazin-Lavassor เป็นบุตรสาวของโรงงานผลิตรถยนต์ผู้ร่ำรวย ในเดือนมกราคม ปีค.ศ. 1928, ดูช็องป์ดูว์ช็องกล่าวว่าเขาไม่สามารถจะอดทนต่อการรับผิดชอบและการคลุมถุงชนเช่นนี้ได้อีกต่อไป และในไม่ช้าหลังจากนั้นเขาก็ได้ทำการหย่า
หลังจากกการตายของ Sarazin-Lavassorดูช็องป์ได้แต่งงานกับ [[Mary Reynolds]] เขาอาศัยอยู่ด้วยกันจนกระทั่งภรรยาของเขาจากไปด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกในปี1950
ในปี1954ดูช็องป์และ [[Alexina Duchamp|Alexina "Teeny" Sattler]]ได้แต่งงานกันและอยู่ด้วยกันจนเขาเสียชีวิต. ในวันที่2 ตุลาคม 1968 ที่ Neuilly-sur-Seine ใน[[ประเทศฝรั่งเศส]]
 
หลังจากกจากการตายของ Sarazin-Lavassorดูช็องป์ ดูว์ช็องได้แต่งงานกับ [[Mary Reynolds]] เขาอาศัยอยู่ด้วยกันจนกระทั่งภรรยาของเขาจากไปด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกในปี ค.ศ. 1950
[[ไฟล์:Diane-Arbus-Marcel-Duchamp-et-Alexina-Suttler-1965.jpg|thumbnail|right]]
 
ในปี ค.ศ. 1954ดูช็องป์และ ดูว์ช็องและ [[Alexina Duchamp|Alexina "Teeny" Sattler]] ได้แต่งงานกันและอยู่ด้วยกันจนเขาเสียชีวิต. ในวันที่ 2 ตุลาคม ค.ศ. 1968 ที่ Neuillyเนอยี-surซูร์-Seine ในแซนใน[[ประเทศฝรั่งเศส]]
==ลักษณะของผลงาน==
 
ผลงานของ Duchamp ทำให้ประเด็นเรื่องสุนทรียะกลายเป็นปัญหา เพราะไม่สามารถที่จะกล่าวได้อย่างง่ายๆ อีกต่อไปว่า “งานศิลปะชิ้นนี้สวย” เพราะคงไม่มีใครที่จะกล่าวว่า “โถส้วม” ในงานแสดงศิลปะว่าเป็นงานศิลปะ ถึงแม้ว่า “โถส้วม” นั้นจะมีความสวยงามมากก็ตาม แต่งานแสดงศิลปะย่อมไม่ใช่งานแสดงผลิตภัณฑ์สุขภัณฑ์ ทั้งนี้สุขภัณฑ์ที่เข้าไปอยู่ในงานแสดงศิลปะเมื่อต้นศตวรรษที่ยี่สิบก็คงไม่ได้ทำให้ใครเข้าใจได้ว่า “โถส้วม”
[[ไฟล์:Diane-Arbus-Marcel-Duchamp-et-Alexina-Suttler-1965.jpg|thumbnail|right]]
 
==ลักษณะของผลงาน==
[[ไฟล์:Marcel Duchamp.jpg|thumbnail|left|Fountain]]
ผลงานของดูว์ช็องทำให้ประเด็นเรื่องสุนทรียะกลายเป็นปัญหา เพราะไม่สามารถที่จะกล่าวได้อย่างง่าย ๆ อีกต่อไปว่า "งานศิลปะชิ้นนี้สวย" เพราะคงไม่มีใครที่จะกล่าวว่า "โถส้วม" ในงานแสดงศิลปะว่าเป็นงานศิลปะ ถึงแม้ว่า "โถส้วม" นั้นจะมีความสวยงามมากก็ตาม แต่งานแสดงศิลปะย่อมไม่ใช่งานแสดงผลิตภัณฑ์สุขภัณฑ์ ทั้งนี้สุขภัณฑ์ที่เข้าไปอยู่ในงานแสดงศิลปะเมื่อต้นศตวรรษที่ยี่สิบก็คงไม่ได้ทำให้ใครเข้าใจได้ว่า "โถส้วม" ที่ว่านี้จะเป็นศิลปะได้อย่างไร การตัดสินให้อะไรเป็นศิลปะในลักษณะแบบนี้ก็เปรียบเสมือนการตั้งชื่อวิสามัญนามวิสามานยนามให้กับศิลปะวัตถุ สำหรับวิสามัญนามวิสามานยนามในที่นี้ก็คือ “ศิลปะ” "ศิลปะ" ในแง่นี้ผลงานศิลปะของ Duchamp ดูว์ช็องเกิดขึ้นจากการตัดสินใจด้วยตัวเองล้วนๆล้วน ๆ ในการที่จะจัดให้อะไรเป็นศิลปะ อะไรไม่เป็นศิลปะ การตัดสินด้วยการจัดระเบียบใหม่ด้วยวิสามัญนามวิสามานยนามอย่างศิลปะก็หมายความถึง ความเป็นสมัยใหม่อย่างเต็มที่ เพราะเขาไม่ได้ตกอยู่ภายใต้ข้อกำหนดความเป็นศิลปะจากภายนอก นี่เป็นการแสดงให้เห็นถึงความเป็นเอกเทศของศิลปะ ความเป็นเอกเทศของศิลปิน ความเป็นเอกเทศแสดงให้เห็นถึงลักษณะของความเป็นสภาวะสมัยใหม่
 
เขามีความคิดที่จะต่อต้านศิลปะ จนกลายเป็นเรื่องเป็นราว เกิดแนวทางใหม่ เหมือนเปิดประตูให้ศิลปินได้เข้าไปพบกับโลกใหม่อย่างคาดไม่ถึง เป็นลักษณะงานตามแบบคติดาดา เขามักนิยมตั้งชื่อผลงานของเขาเป็นคำผวนหรือเล่นคำให้เกิดความหมายแปลกๆแปลก ๆ หรือประชดประชัน เช่น L.H.O.O.Q. ซึ่งสามารถออกเสียงได้หลากหลาย และมีความหมายแตกต่างกัน โดยผลงานชิ้นนี้เป็นการเขียนหนวดเคราลงไปบนใบหน้าของโมนาลิซา ซึ่งเป็น ภาพที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ในการที่เขากระทำเช่นนี้ ก็เพื่อเป็นการลดความขลังของผลงาน
ที่ว่านี้จะเป็นศิลปะได้อย่างไร การตัดสินให้อะไรเป็นศิลปะในลักษณะแบบนี้ก็เปรียบเสมือนการตั้งชื่อวิสามัญนามให้กับศิลปะวัตถุ สำหรับวิสามัญนามในที่นี้ก็คือ “ศิลปะ” ในแง่นี้ผลงานศิลปะของ Duchamp เกิดขึ้นจากการตัดสินใจด้วยตัวเองล้วนๆ ในการที่จะจัดให้อะไรเป็นศิลปะ อะไรไม่เป็นศิลปะ การตัดสินด้วยการจัดระเบียบใหม่ด้วยวิสามัญนามอย่างศิลปะก็หมายความถึง ความเป็นสมัยใหม่อย่างเต็มที่ เพราะเขาไม่ได้ตกอยู่ภายใต้ข้อกำหนดความเป็นศิลปะจากภายนอก นี่เป็นการแสดงให้เห็นถึงความเป็นเอกเทศของศิลปะ ความเป็นเอกเทศของศิลปิน ความเป็นเอกเทศแสดงให้เห็นถึงลักษณะของความเป็นสภาวะสมัยใหม่
เขามีความคิดที่จะต่อต้านศิลปะ จนกลายเป็นเรื่องเป็นราว เกิดแนวทางใหม่ เหมือนเปิดประตูให้ศิลปินได้เข้าไปพบกับโลกใหม่อย่างคาดไม่ถึง เป็นลักษณะงานตามแบบของลัทธิดาด้า
เขามักนิยมตั้งชื่อผลงานของเขาเป็นคำผวนหรือเล่นคำให้เกิดความหมายแปลกๆหรือประชดประชัน เช่น L.H.O.O.Q. ซึ่งสามารถออกเสียงได้หลากหลาย และมีความหมายแตกต่างกัน โดยผลงานชิ้นนี้เป็นการเขียนหนวดเคราลงไปบนใบหน้าของโมนาลิซา ซึ่งเป็น ภาพที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ในการที่เขากระทำเช่นนี้ ก็เพื่อเป็นการลดความขลังของผลงาน
 
[[ไฟล์:LHOOQ.jpg|thumbnail|right|ภาพ L.H.O.O.Q]]
 
==งานกับสังคมและการเมือง==
เนื่องจากมีความเชื่อในการสร้างงานศิลปะว่า "ทุกสิ่งทุกอย่างที่ศิลปินสร้างสรรค์ออกมานั้นคือศิลปะ" ผลงานของศิลปิน ในช่วงแรกได้รับการต่อต้าน และเกิดความโต้แย้งกันมากเกี่ยวกับความเป็นศิลปะ เพราะผลงานออกมามีลักษณะแปลกใหม่ เช่น การเขียนภาพโดยวิธีผิดปกติ หรือการนำวัตถุที่พบเห็นทั่วไป หรือวัตถุสำเร็จรูปมาเป็นงานศิลปะ ซึ่งไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน เพราะศิลปิน ไม่เห็นด้วยกับการสร้างงานศิลปะโดยใช้วัสดุ หรือวิธีการในแบบเดิม แนวคิดเช่นนี้ทำให้นักวิจารณ์ศิลปะมีความเห็นว่า เป็นการต่อต้านศิลปะ (Anti Artanti-art) แม้ศิลปะในลักษณะนี้ จะได้รับการวิพากษ์วิจารณ์กันอย่างหนักถึงความไม่เหมาะสมทั้งจากนักวิจารณ์ศิลปะ กลุ่มคนที่สร้างสรรค์ศิลปะฝ่ายสูง และผู้ชมงานศิลป์ ถึงความไม่เหมาะสม แต่โลกสำหรับที่กำลังขับเคลื่อนไปข้างหน้า ศิลปะเป็นหนึ่งในทรัพยากรทางวัฒนธรรรมของมนุษยชาติที่เกิดขึ้นและผันแปรไปอย่างไม่เคยหยุดนิ่ง โดยสะท้อนภาพความเป็นจริงที่สังคมทุกสังคมย่อมมีความขัดแย้ง ไม่ว่าจะเป็นการขัดแย้งระหว่างกลุ่มชนชั้นหรือเศรษฐกิจ งานศิลปะในทุกห้วงเวลาที่ผ่านมา จึงมีทั้ง การผลิตซ้ำ ถอดรื้อ และให้คนตีความหมาย ศิลปะในบริบทของสังคมทุกสมัยสามารถเกิดขึ้นได้ทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของการแต่งตัว ภาพวาด ดนตรี สื่อภาพยนตร์ ฯลฯ แทบทุกอย่าง ให้มนุษย์ในยุคปัจจุบันมีที่ทางของตัวเองที่จะระบายสิ่งที่แฝงเร้นในตัวมนุษย์ออกมาในรูปของสุนทรียะนานาพันธุ์ ซึ่งอาจมีความหมายที่พิลึกพิลั่นจนบางครั้งเกินเลยไปสู่เขตแดนแห่งความอัปลักษณ์ น่าชัง แต่สุดท้ายแล้ว ก็คือความจริงที่บอกให้รู้ว่า สิ่งที่อยู่คู่กับความงามของมนุษย์ก็คือความอัปลักษณ์ของเรา และหากจะเชื่อว่า ความงามคือความจริง และความจริงคือความงามชนิดหนึ่ง ซอกมุมอัปลักษณ์ของมนุษยชาติอย่างเราๆเรา ๆ ก็มีความงามที่น่าสะอิดสะเอียนแฝงอยู่ดาษดื่น
 
และคงปฏิเสธไม่ได้ว่า ผลงานศิลปะเหล่านี้สะท้อนให้เราได้เห็นถึงความบอบช้ำ ความรุนแรง และความเลวร้าย ที่กำลังเกิดขึ้นจริงในสังคมปัจจุบัน ที่เราแกล้งทำเป็นมองไม่เห็นและปล่อยผ่านมันไป จนกลายเป็นแผลเรื้อรังฝังลึกอยู่ในจิตใจของมนุษย์ บางทีศิลปะเช่นนี้อาจจะช่วยเตือนสติ ให้เราได้หันกลับมามอง เพื่อที่ว่า แผลที่เกิดขึ้นมานั้น จะได้ไม่เน่าจนเกิดหนองออกมาปรากฏแก่สายตาของคนทั้งโลกไปมากกว่านี้
เนื่องจากมีความเชื่อในการสร้างงานศิลปะว่า "ทุกสิ่งทุกอย่างที่ศิลปินสร้างสรรค์ออกมานั้นคือศิลปะ" ผลงานของศิลปิน ในช่วงแรกได้รับการต่อต้าน และเกิดความโต้แย้งกันมากเกี่ยวกับความเป็นศิลปะ เพราะผลงานออกมามีลักษณะแปลกใหม่ เช่น การเขียนภาพโดยวิธีผิดปกติ หรือการนำวัตถุที่พบเห็นทั่วไป หรือวัตถุสำเร็จรูปมาเป็นงานศิลปะ ซึ่งไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน เพราะศิลปิน ไม่เห็นด้วยกับการสร้างงานศิลปะโดยใช้วัสดุ หรือวิธีการในแบบเดิม แนวคิดเช่นนี้ทำให้นักวิจารณ์ศิลปะมีความเห็นว่า เป็นการต่อต้านศิลปะ (Anti Art) แม้ศิลปะในลักษณะนี้ จะได้รับการวิพากษ์วิจารณ์กันอย่างหนักทั้งจากนักวิจารณ์ศิลปะกลุ่มคนที่สร้างสรรค์ศิลปะฝ่ายสูงและผู้ชมงานศิลป์ ถึงความไม่เหมาะสม แต่โลกสำหรับที่กำลังขับเคลื่อนไปข้างหน้า ศิลปะเป็นหนึ่งในทรัพยากรทางวัฒนธรรรมของมนุษยชาติที่เกิดขึ้นและผันแปรไปอย่างไม่เคยหยุดนิ่ง โดยสะท้อนภาพความเป็นจริงที่สังคมทุกสังคมย่อมมีความขัดแย้ง ไม่ว่าจะเป็นการขัดแย้งระหว่างกลุ่มชนชั้นหรือเศรษฐกิจ งานศิลปะในทุกห้วงเวลาที่ผ่านมา จึงมีทั้ง การผลิตซ้ำ ถอดรื้อ และให้คนตีความหมาย ศิลปะในบริบทของสังคมทุกสมัยสามารถเกิดขึ้นได้ทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของการแต่งตัว ภาพวาด ดนตรี สื่อภาพยนตร์ ฯลฯ แทบทุกอย่าง ให้มนุษย์ในยุคปัจจุบันมีที่ทางของตัวเองที่จะระบายสิ่งที่แฝงเร้นในตัวมนุษย์ออกมาในรูปของสุนทรียะนานาพันธุ์ ซึ่งอาจมีความหมายที่พิลึกพิลั่นจนบางครั้งเกินเลยไปสู่เขตแดนแห่งความอัปลักษณ์ น่าชัง แต่สุดท้ายแล้ว ก็คือความจริงที่บอกให้รู้ว่า สิ่งที่อยู่คู่กับความงามของมนุษย์ก็คือความอัปลักษณ์ของเรา และหากจะเชื่อว่า ความงามคือความจริง และความจริงคือความงามชนิดหนึ่ง ซอกมุมอัปลักษณ์ของมนุษยชาติอย่างเราๆ ก็มีความงามที่น่าสะอิดสะเอียนแฝงอยู่ดาษดื่น
และคงปฏิเสธไม่ได้ว่า ผลงานศิลปะเหล่านี้สะท้อนให้เราได้เห็นถึงความบอบช้ำ ความรุนแรง และความเลวร้าย ที่กำลังเกิดขึ้นจริงในสังคมปัจจุบัน ที่เราแกล้งทำเป็นมองไม่เห็นและปล่อยผ่านมันไป จนกลายเป็นแผลเรื้อรังฝังลึกอยู่ในจิตใจของมนุษย์ บางทีศิลปะเช่นนี้อาจจะช่วยเตือนสติ ให้เราได้หันกลับมามอง เพื่อที่ว่า แผลที่เกิดขึ้นมานั้น จะได้ไม่เน่าจนเกิดหนองออกมาปรากฏแก่สายตาของคนทั้งโลกไปมากกว่านี้
 
==อ้างอิง==
* Anne d'Harnoncourt and Kynaston McShine. Marcel Duchamp (New York : Museum of Modern Art), 1973.
* Thomas Koster and Lars Roper. 50 Artists You should know (Munich ; London : Prestel), 2006.
* http://grmtqye.vcharkarn.com/vblog/113647.