ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทเขิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แอนเดอร์สัน ย้ายหน้า ไทขึน ไปยัง ไทเขิน ทับหน้าเปลี่ยนทาง: ให้สอดคล้องกับบทความภาษาเขิน
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
| region4 =
| ref4 =
| languages = [[ภาษาไทขึน]] [[ภาษาไทใหญ่]] [[กำเมือง]] [[ภาษาพม่า]]
| religions = [[พระพุทธศาสนา]]นิกาย[[เถรวาท]]
}}
 
'''ไทขึน''' หรือ '''ไทเขิน''' เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทกลุ่มหนึ่ง ที่อาศัยอยู่ใน[[ประเทศพม่า]] [[ประเทศไทย]] [[ประเทศจีน]] และ[[ประเทศลาว]] เป็นส่วนมาก ชื่อจริงของชนนี้ก็คือ ไทขึน แต่คนไทยเรียกว่าไทเขิน ก็เพราะว่าพวกเขาเก่งทางด้านทำ[[เครื่องเขิน]] เคยตั้งอาณาจักรของตน มีเมืองหลวงอยู่ที่เมือง[[เชียงตุง]] [[รัฐฉาน]] [[ประเทศพม่า]] พูดภาษา[[ภาษาไทขึน]] ซึ่งเป็นภาษาใน[[กลุ่มภาษาย่อยไทพายัพ]] ใน[[กลุ่มภาษากัม-ไท]] [[ตระกูลภาษาไท-กะได]] ที่คนไทยเรียกไทยเขินเพราะว่าเก่งทำเครื่องเขินนั้นถูกต้องแต่ไม่ใช่ทั้งหมด ขึนมีความหมายว่าฝืน ที่เป็นเช่นนี้เพราะแม่นำขึนนั้นไหลขึ้นไปทางเหนือ ไม่ได้ไหลลงไปทางทิศใต้เช่นเดียวกับแม่นำเมย ชาวไทที่อาศัยอยู่จึงถูกเรียกว่าไทขึน พวกนี้มีความสามารถในการทำภาชนะเครื่องใช้จากไม้ไผ่ที่สานอย่างละเอียดแล้วเคลือบด้วยยางไม้สีแดงจึงเรียกว่าเครื่องขึน แต่คนไทยเรียกเพื้ยนว่าเขิน
'''ไทเขิน''' หรือ '''ไทขึน'''<ref name="ฐานข้อมูล">{{cite web |url=http://www.sac.or.th/databases/ethnic/Content/Information/taikheon.html|title=ไทขึน (ไทเขิน)|author=|date=| work= |publisher=ฐานข้อมูลกลุ่มชาติพันธุ์ในไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน)|accessdate=30 ธันวาคม 2557}}</ref><ref name="เจนจิรา">{{cite web |url=http://www.sujitwongthes.com/suvarnabhumi/2012/02/17022555/|title=ไทขึน เมืองเชียงตุง|author=เจนจิรา เบญจพงศ์|date=17-23 กุมภาพันธ์ 2555| work= |publisher=สุวรรณภูมิสโมสร|accessdate=30 ธันวาคม 2557}}</ref> เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทกลุ่มหนึ่งที่ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ใน[[เมืองเชียงตุง]] [[ประเทศพม่า]] มีบ้างที่อาศัยในประเทศไทย หรือจีน
 
'''ไทขึน''' หรือ '''ไทเขิน''' เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทกลุ่มหนึ่ง ที่อาศัยอยู่ใน[[ประเทศพม่า]] [[ประเทศไทย]] [[ประเทศจีน]] และ[[ประเทศลาว]] เป็นส่วนมาก ชื่อจริงของชนนี้ก็คือ ไทขึน แต่คนไทยเรียกว่าไทเขิน ก็เพราะว่าพวกเขาเก่งทางด้านทำ[[เครื่องเขิน]] เคยตั้งอาณาจักรของตน มีเมืองหลวงอยู่ที่เมือง[[เชียงตุง]] [[รัฐฉาน]] [[ประเทศพม่า]] พูดภาษา[[ภาษาไทขึน]] ซึ่งเป็นภาษาใน[[กลุ่มภาษาย่อยไทพายัพ]] ใน[[กลุ่มภาษากัม-ไท]] [[ตระกูลภาษาไท-กะได]] ที่คนไทยเรียกไทยเขินเพราะว่าเก่งทำเครื่องเขินนั้นถูกต้องแต่ไม่ใช่ทั้งหมด ขึนมีความหมายว่าฝืน ที่เป็นเช่นนี้เพราะแม่นำขึนนั้นไหลขึ้นไปทางเหนือ ไม่ได้ไหลลงไปทางทิศใต้เช่นเดียวกับแม่นำเมย ชาวไทที่อาศัยอยู่จึงถูกเรียกว่าไทขึน พวกนี้มีความสามารถในการทำภาชนะเครื่องใช้จากไม้ไผ่ที่สานอย่างละเอียดแล้วเคลือบด้วยยางไม้สีแดงจึงเรียกว่าเครื่องขึน แต่คนไทยเรียกเพื้ยนว่าเขิน
 
ชาวไทเขิน ปลูกเรือนยกเสาสูง หลังคามีจั่ว เช่นเดียวกับคนไทยและลาว<ref name="เจนจิรา"/>
 
== ศาสนา ==
ในอดีตชาวไทเขินนับถือความเชื่อเรื่องและวิญญาณ แม้หลังการรับศาสนาแล้วความเชื่อดังกล่าวก็ยังคงอยู่<ref name="ฐานข้อมูล"/> นอกจากนี้ยังนับถือ[[กบ]]และ[[นาค]]เป็นสัญลักษณ์ของความสมบูรณ์ ดังปรากฏในพิธีปั้นกบเรียกฝนในช่วงสงกรานต์ และการระบำนางนาค เป็นต้น<ref name="เจนจิรา"/>
 
เมืองเชียงตุงมีความสัมพันธ์กับ[[อาณาจักรล้านนา]]ช้านาน จึงมีการติดต่อด้านศาสนาและรับ[[ศาสนาพุทธ]][[นิกายเถรวาท]]สืบมา ทั้งนี้พระสงฆ์เขินจะไม่สังฆกรรมร่วมกับพระสงฆ์พม่าและไทใหญ่ แม้จะมีความสัมพันธ์ที่ดีกับคณะสงฆ์ไทใหญ่<ref name="เสมอชัย132">เสมอชัย พูลสุวรรณ. ''รัฐฉาน (เมืองไต):พลวัติของชาติพันธุ์ในบริบทประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัย''. กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2552, หน้า 132</ref> แต่คณะสงฆ์เขินก็สนิทสนมกับคณะสงฆ์ไทยเสียมากกว่า โดยคณะสงฆ์เขินมี ''สมเด็จอาชญาธรรม'' เป็นประมุขสงฆ์แห่งเมืองเชียงตุงและหัวเมืองทางฟากตะวันออกของลุ่มน้ำสาละวิน<ref name="เสมอชัย131">เสมอชัย พูลสุวรรณ. ''รัฐฉาน (เมืองไต):พลวัติของชาติพันธุ์ในบริบทประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัย''. กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2552, หน้า 131</ref>
 
ครั้นรัฐบาลพม่าได้จัดประชุมตัวแทนพระสงฆ์ทั่วประเทศ โดยให้ตัวแทนของพระสงฆ์แต่ละนิกายแสดงสถานภาพตนเองว่าจะสังกัดนิกายใด หรือจะใช้นิกายเดิม หรือรวมกับนิกายอื่น ปรากฎว่าพระสงฆ์เขินได้มีเจตจำนงรวมเข้ากับนิกายสุธรรมาซึ่งเป็นนิกายที่ใหญ่ที่สุดของพม่า<ref name="เสมอชัย132"/> หลังจากนั้นเป็นต้นมา ''สมเด็จพระอาชญาธรรม'' ประมุขของคณะสงฆ์เขินจึงถูกลดฐานะลงเทียบเจ้าคณะอำเภอเชียงตุงเท่านั้น<ref name="เสมอชัย131"/>
 
อย่างไรก็ตามแม้ล้านนาจะถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของ[[ประเทศไทย]]แล้ว แต่การจัดระเบียบปกครองสงฆ์ ล้วนทำเป็นอย่างสงฆ์ในกรุงเทพมหานคร และได้รับอิทธิพลศาสนาพุทธแบบกรุงเทพฯ ในยุคหลังมานี้ แม้จะคงจารีตสมณะศักดิ์แบบล้านนาเดิมไว้ แต่ในการศึกษาของพระสงฆ์เขินเชียงตุงได้พยายามอิงหลักสูตรนักธรรมและบาลีของคณะสงฆ์ไทย ทำให้มีความแตกต่างจากศาสนาพุทธแบบพม่า และแบบไทใหญ่ ทั้งยังศาสนิกชนยังนิยมพระพุทธรูปที่มีพุทธศิลป์แบบไทย มากกว่าพระพุทธรูปพุทธศิลป์แบบพม่า<ref>เสมอชัย พูลสุวรรณ. ''รัฐฉาน (เมืองไต):พลวัติของชาติพันธุ์ในบริบทประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัย''. กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2552, หน้า 129-130</ref> ทางรัฐบาลพม่าเองก็ไม่พอใจคณะสงฆ์เขินนักด้วยมองว่าคณะสงฆ์เขินฝักใฝ่คณะสงฆ์ไทย<ref>เสมอชัย พูลสุวรรณ. ''รัฐฉาน (เมืองไต):พลวัติของชาติพันธุ์ในบริบทประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัย''. กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2552, หน้า 135</ref>
 
==อ้างอิง==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไทเขิน"