ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นักเศรษฐศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
เศรษฐศาสตร์จะได้รับการพลิกโฉมหน้าอีกครั้งหนึ่งในยุคภาวะถดถอยอันยิ่งใหญ่ (The Great Depression)
 
== จอห์น เมย์นาร์ด เคย์นส์เคนส์ และนักเศรษฐศาสตร์เคนเซี่ยนเซียน ==
[[จอห์น เมย์นาร์ด เคย์นส์เคนส์]] และนักเศรษฐศาสตร์[[เคนเซี่ยนเซียน]] ได้กล่าวถึง[[ภาวะถดถอย]]อันยิ่งใหญ่ที่เกิดช่วง ค.ศ. 1929 ในสหรัฐ มีสาเหตุที่ไม่แน่ัชัดนัก แต่การถดถอยของตลาดหุ้น หรือภาวะฟองสบู่แตก เป็นตัวจุดชนวนให้เกิดภาวะถดถอยดังกล่าว
 
ในช่วงนี้เองแนวคิดด้านเศรษฐศาสตร์ได้พบกับมรสุมครั้งใหญ่ เนื่องจากระบบกลไกตลาด และการค้าเสรีนั้น ไม่สามารถแก้ปัญหาภาวะเศรษฐกิจตกต่ำในครั้งนี้ได้ และในขณะนั้นเองนักเศรษฐศาสตร์ที่ชื่อ จอห์น เมย์นาร์ด เคย์นส์เคนส์ ได้เสนอแนวคิดให้รัฐบาลเข้าแทรกแซงเศรษฐกิจ โดยการกระตุ้นเพื่อให้เศรษฐกิจฟื้นตัว
 
เคย์นส์เคนส์นั้นอาจกล่าวได้ว่าเป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่ค่อนข้างจะแตกต่างจากผู้อื่น เพราะโดยพื้นฐานเขาไม่ใช่นักวิชาการ แต่เขาเป็นพ่อค้าและนักเล่นหุ้นที่ประสบความสำเร็จ และอาจจะโดยลักษณะนี้เองที่ทำให้ประธานาธิบดี[[แฟรงคลินแฟรงกลิน ดี. รูสเวลท์สเวลต์]]นั้นให้ความเชื่อถือ และได้ดำเนินการกระตุ้นเศรษฐกิจโดยการกระตุ้นให้รัฐบาลมีการใช้จ่ายให้มากขึ้น เช่น การสร้างถนนสาย 66 ซึ่งเชื่อมต่อฝั่งตะวันออกและตะวันตกของสหรัฐ ผลของนโยบายเหล่านี้ รวมทั้งผลกระทบจากการเข้าร่วม[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ได้ก่อให้เกิดภาวะเศรษฐกิจเฟื่องฟูในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950-1960 และได้ทำให้เศรษฐศาสตร์สาขานี้ได้รับการยอมรับ
 
นักเศรษฐศาสตร์กลุ่มนี้จะเรียกตัวเองว่า เคนเซี่ยน ตามเคย์นส์ผู้สร้างแนวคิดนี้ โดยพื้นฐานความเชื่อคือ แม้ระบบเศรษฐกิจจะมีการเครลื่อนไหวได้โดยเสรี แต่รัฐบาลควรเป็นปัจจัยที่จะสร้างเสถียรภาพให้กับระบบเศรษฐกิจ เพื่อไม่ให้มีการเติบโตมากหรือน้อยเกินไป รวมทั้งควบคุม[[ภาวะเงินเฟ้อ]] อัตราดอกเบี้ย และอื่นๆ
 
นักเศรษฐศาสตร์กลุ่มนี้จะเรียกตัวเองว่า เคนเซี่ยนเซียน ตามเคย์นส์เคนส์ผู้สร้างแนวคิดนี้ โดยพื้นฐานความเชื่อคือ แม้ระบบเศรษฐกิจจะมีการเครลื่อนไหวได้โดยเสรี แต่รัฐบาลควรเป็นปัจจัยที่จะสร้างเสถียรภาพให้กับระบบเศรษฐกิจ เพื่อไม่ให้มีการเติบโตมากหรือน้อยเกินไป รวมทั้งควบคุม[[ภาวะเงินเฟ้อ]] อัตราดอกเบี้ย และอื่นๆอื่น ๆ
 
== ลิงก์ ==