ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นางเสือง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:พระนางเสือง.jpg|thumb|170px|เทวรูปพระแม่ย่า ที่แท้จริงแล้วเป็นเทวรูปของพระนารายณ์]]
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| สีพิเศษ = Skyblue
| ภาพ = ไฟล์:พระนางเสือง.jpg
| name = นางเสือง
| พระนาม =
| ฐานันดร = พระนาง
| วันประสูติ =
| วันสิ้นพระชนม์=
| พระอิสริยยศ = พระอัครมเหสี
| พระบิดา = [[พ่อขุนศรีนาวนำถุม]]
| พระมารดา = {{เทาเล็ก|ไม่ปรากฏ}}
| พระสวามี =[[พ่อขุนศรีอินทราทิตย์]]
| พระโอรส/ธิดา = 5 พระองค์
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์ศรีนาวนำถุม|ศรีนาวนำถุม]] (ประสูติ)<br>[[ราชวงศ์พระร่วง|พระร่วง]] (ตามการเสกสมรส)
|
}}
 
'''นางเสือง''' หรือที่ชาว[[จังหวัดสุโขทัย|สุโขทัย]]นิยมเรียกว่า '''พระแม่ย่า''' เป็นพระมเหสีของอัครมเหสีใน[[พ่อขุนศรีอินทราทิตย์]] และเป็นพระราชมารดาของพระมหากษัตริย์อีกสองพระองค์คือ [[พ่อขุนบาลบานเมือง]]กับ และ[[พ่อขุนรามคำแหงมหาราช]]
 
นางเสือง มีประวัติค่อนข้างน้อยนัก ปรากฏครั้งแรกและครั้งเดียวใน ''[[ศิลาจารึกหลักที่ 1]]'' ความว่า "พ่อกูชื่อศรีอินทราทิตย์ แม่กูชื่อนางเสือง พี่กูชื่อบานเมือง ตูพี่น้องท้องเดียวห้าคน ผู้ชายสาม ผู้หญิงสอง พี่เผือผู้อ้ายตายจากเผือเตียมแต่ยังเล็ก..." แสดงให้เห็นว่าพระนางมีพระราชโอรส-ธิดา 5 พระองค์ เป็นพระราชโอรสสามพระองค์ กับพระราชธิดาอีกสองพระองค์<ref>{{cite web |url=http://www.sukhothai.go.th/history/hist_08.htm|title= ศิลาจารึก |author= |date=|work= |publisher= จังหวัดสุโขทัย |accessdate=22 พฤศจิกายน 2557}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.lib.ru.ac.th/pk/biography1.html|title= พ่อกูชื่อศรีอินทราทิตย์ |author= |date=|work= |publisher= สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามคำแหง |accessdate=22 พฤศจิกายน 2557}}</ref> และปรากฎอีกครั้งว่า "เมื่อชั่วพ่อกู กูบำเรอแก่พ่อกู กูบำเรอแก่แม่กู..."<ref>{{cite book | author = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | title = นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย | url = http://www.sac.or.th/main/pdf/Thai_king_directories.pdf | publisher = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | location = กรุงเทพฯ | year = 2554 | page = 25}}</ref> แสดงให้เห็นว่าพระองค์ได้รับการปรนนิบัติพัดวีอย่างดีจากพระราชโอรสคือ พ่อขุนรามคำแหงนั่นเอง
ศิลาจารึกหลักที่ 1 ว่า “...เบื้องหัวนอนเมืองสุโขทัยนี้มีกุฎี พิหาร ปู่ครู มีสรีดภงส์ มีป่าพร้าว มีป่าลาง มีป่าขาม มีน้ำโคก มี''พระขพุงผี'' เทพดาในเขาอันนั้นเป็นใหญ่กว่าผีทุกผีในเมืองนี้ ขุนผู้ใดถือเมืองสุโขไทนี้แล้ ไหว้ดีพลีถูก เมืองนี้เที่ยง เมืองนี้ดี ผิไหว้บ่ดี พลีบ่ถูก ผีในเขาอันนั้นบ่คุ้มเกรงเมืองนี้หาย...” คำว่า "พระขพุงผี" แปลว่าผีที่เป็นใหญ่กว่าผีทั้งหลาย มีการตีความว่าเป็น ผีพระแม่ย่า หรือนางเสืองนั่นเอง สาเหตุที่เรียกว่า "พระแม่ย่า" เนื่องจากคนสมัยก่อนนับถือกษัตริย์ว่าเป็นพ่อ ดังนั้นแม่ของพ่อ (กษัตริย์) จึงเรียกว่า ย่า แปลโดยรวมว่า ย่าผู้เป็นแม่ของพระมหากษัตริย์
 
ทั้งนี้นี้มีการสันนิษฐานกันว่า นางเสือง อาจจะเป็นพระภคินีของ[[พ่อขุนผาเมือง]]ก็เป็นได้<ref>{{cite book | author = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | title = นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย | url = http://www.sac.or.th/main/pdf/Thai_king_directories.pdf | publisher = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | location = กรุงเทพฯ | year = 2554 | page = 19}}</ref>
ต่อมามีการค้นพบเทวรูปที่สันนิษฐานว่าเป็นรูปสลักนางเสืองอยู่ที่ถ้ำพระแม่ย่าบนเขาพระแม่ย่า ในอุทยานแห่งชาติรามคำแหง และนำมาประดิษฐานไว้ที่ศาลพระแม่ย่าที่หน้าศาลากลางจังหวัดสุโขทัยจวบจนปัจจุบันนี้
 
ส่วนเทวรูปที่พบที่โซกพระแม่ย่านั้น แท้จริงแล้วเป็นเทวรูปพระนารายณ์ เพียงแต่ได้รับการนับถือที่เปลี่ยนไปตามความเชื่อของชาวเมือง<ref>กนกวรรณ โสภณวิจิตร. ''ประวัติศาสตร์สุโขทัย''. กรุงเทพฯ:สารคดี, 2554, หน้า 113</ref> ส่วนที่ชาวเมืองเรียกเทวรูปดังกล่าวว่าพระแม่ย่านั้น ทองเจือ สืบชมภู สันนิษฐานว่าคงเป็นนางกษัตริย์องค์ใดองค์หนึ่ง ซึ่งก็คือนางเสือง ผู้เป็นพระราชมารดาของพ่อขุนรามคำแหง และเป็นพระอัยยิกาของ[[พระยาลิไท]]<ref>{{cite web |url=http://www.sukhothai.go.th/tour/tour_09.htm|title= ศาลพระแม่ย่า |author= |date= |work= |publisher= จังหวัดสุโขทัย |accessdate=22 พฤศจิกายน 2557}}</ref>
ของที่นิยมนำมาถวายแก้บนเทวรูปพระแม่ย่าคือ [[ขนมหม้อแกง]] ทาง[[จังหวัดสุโขทัย]]จะมีการจัดงานสักการะพระแม่ย่าพร้อมกับงานกาชาดราวเดือนมกราคม–กุมภาพันธ์ทุก ๆ ปี ปัจจุบันมีการนำลักษณะเครื่องแต่งกายของเทวรูปพระแม่ย่าไปประยุกต์เป็นชุดของนางระบำในระบำสุโขทัย
 
== ในวัฒนธรรมร่วมสมัย ==
เรื่องราวที่มีอยู่น้อยนิดของพระนาง ถูกนำมาดัดแปลงเป็นละครเวทีอิงประวัติศาสตร์เรื่อง "นางเสือง" ด้วยถือว่าเป็น "พระราชินีไทยที่ปรากฎพระนามเป็นพระองค์แรกในประวัติศาสตร์" ละครเวทีดังกล่าวออกแสดงในปี พ.ศ. 2511, พ.ศ. 2547 และ พ.ศ. 2556 เพื่อเฉลิมพระเกียรติ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]]<ref>{{cite web |url=http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1358152306|title= อีกครั้งละคร "นางเสือง" "ม.ล.จุลลา งอนรถ" กำกับเวที |author= |date= 14 มกราคม 2556 |work= |publisher= ประชาชาติธุรกิจ |accessdate=22 พฤศจิกายน 2557}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.bangkokbiznews.com/mobile/xhtml/news/detail/07/486746/|title= จากเชื้อพระวงศ์สู่นางเสือง |author= |date=|work= |publisher= กรุงเทพธุรกิจ |accessdate=22 พฤศจิกายน 2557}}</ref> บทประพันธ์โดย[[สมภพ จันทรประภา]] กำกับการแสดงโดย[[หม่อมหลวงจุลลา งอนรถ]]<ref>{{cite web |url=http://www.naewna.com/lady/gallery/1904|title= "นางเสือง" ละครเวทีอิงประวัติศาสตร์ ฉาก แสง สี เสียง ตระการตา |author= |date=|work= |publisher= แนวหน้า |accessdate=22 พฤศจิกายน 2557}}</ref> เนื้อเรื่องจะปลุกใจให้มีความรักชาติ<ref>{{cite web |url=http://www.komchadluek.net/detail/20130121/149798/ปลุกความรักชาติผ่านนางเสือง.html|title= ปลุกความรักชาติผ่านนางเสือง |author= |date= 21 มกราคม 2556 |work= |publisher= คมชัดลึก |accessdate=22 พฤศจิกายน 2557}}</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{ต้องการรายการอ้างอิง|2}}
 
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์พระร่วง]]