ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โพสพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
พระแม่โพสพ มีลักษณะ "...เป็นหญิงสาวท่าทางอ่อนช้อยสวยงาม ภาพของนางที่สร้างขึ้นเพื่อเคารพบูชาเป็นท่านั่งพับเพียบ มือขวาถือรวงข้าวมือซ้ายถือถุงข้าว แต่งกายนุ่งผ้าถุงห่มผ้าสไบเฉียงแบบหญิงในวังสมัยก่อน"<ref name="โพสพ"/> แม้พระแม่โพสพจะมีมาเนิ่นนานก่อนการรับศาสนาพราหมณ์แต่ถือกันว่าเป็นพระภาคหนึ่งของ[[พระลักษมี]] บ้างก็ว่าเดิมเป็นชายาองค์หนึ่งของพระอินทร์ ชื่อ ''พระสวเทวี'' (เพื่อโยงชื่อโพสพเข้ากับชื่อชายาพระอินทร์ นั่นคือให้ 'สพ' แผลงมาจาก 'สว' ส่วน โพอาจจะมาจากชื่อ ไพสพ ของเทวดารักษาทิศอีสาน)<ref name="โพสพ"/>
 
ปัจจุบันการบูชาพระแม่โพสพได้สร่างซาลงไป โดยเฉพาะ[[ไทยเชื้อสายมลายู|ชาวไทยเชื้อสายมลายู]]ที่เลิกการบูชาโพสพเพราะขัดกับหลัก[[ศาสนาอิสลาม]]<ref>{{cite web |url=http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1292493085|title=มองคนมลายูในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ ผ่านแว่นวรรณกรรมฯ |author= |date= 18 ธันวาคม พ.ศ. 2553 |work= |publisher=มติชนออนไลน์ |accessdate=20 พฤศจิกายน 2557}}</ref> ต่อมา[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]]ได้ทรงอุปถัมภ์พิธีกรรมโบราณนี้เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2551<ref>[http://www.chinapost.com.tw/asia/thailand/2008/08/11/169635/Thailand-revives.htm Thailand revives worship of Rice Goddess - The China Post]</ref><ref>{{cite web |url=http://www.suphaninsure.com/wizContent.asp?wizConID=56031&txtmMenu_ID=7|title= พิธีอัญเชิญแม่โพสพคืนนา |author=|date=|work= |publisher=สุพรรณอินชัวร์|accessdate=20 พฤศจิกายน 2557}}</ref> บางหมู่บ้านก็มีสตรีแต่งกายเป็นพระแม่โพสพช่วงเทศกาลหรืองานเฉลิมฉลองในท้องถิ่น<ref>[http://i551.photobucket.com/albums/ii474/poepum/100_3013-1.jpg Woman in Pho sop costume]</ref>
 
== โพสพในประเทศต่าง ๆ ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โพสพ"