ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกลือ (เคมี)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Selpologne.jpg|thumb|ผลึกเกลือ เมื่อส่องขยาย ([[เฮไลต์]]/[[เกลือแกง]])]]
ในทาง[[เคมี]] '''เกลือ'''<ref>[http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/16/2/compound/Content_15.html สมบัติของสารประกอบ]Atom</ref> เป็น[[สารประกอบไอออนิก]] (ionic compound) ประกอบด้วย[[แคตไอออน]] (cation : ไอออนที่มีประจุบวก) และ[[แอนไอออน]] (anion : ไอออนที่มีประจุลบ) ทำให้ผลผลิตที่ได้เป็นกลาง (ประจุสิทธิสุทธิเป็นศูนย์) ไอออนเหล่านี้อาจเป็น[[อนินทรีย์]] (Cl<sup>−</sup>) กับ[[อินทรีย์]] (CH<sub>3</sub>COO<sup>−</sup>) และหรือ[[ไอออนอะตอมเดี่ยว]] (F<sup>−</sup>) กับ[[ไอออนหลายอะตอม]] (SO<sub>4</sub><sup>2−</sup>) ก็ได้ เกลือจะเกิดขึ้นได้เมื่อ[[กรด]]และ[[เบส]]ทำ[[ปฏิกิริยาเคมี|ปฏิกิริยา]]ด้วยกัน โดยมีคุณสมบัติดังนี้
 
# เกลือ เป็นสารประกอบ สถานะปกติเป็นของแข็ง ไม่นำ[[ไฟฟ้า]]
# เกลืออาจจะละลายน้ำหรือไม่ละลายน้ำก็ได้ หากละลายน้ำจะทำให้น้ำเป็น[[สารละลาย]]([[อิเล็กโทรไลต์]]) เพราะเกลือแตกตัวเป็นไอออนทำให้น้ำนั้นนำไฟฟ้าได้
# สารละลายเกลืออาจเป็นกรด กลาง หรือเบสก็ได้
## เกลือที่มีคุณสมบัติเป็นกรด เกิดจาก กรดแก่ + เบสอ่อน
## เกลือที่มีคุณสมบัติเป็นกลาง เกิดจาก กรดแก่ + เบสแก่
## เกลือที่มีคุณสมบัติเป็นเบส เกิดจาก กรดอ่อน + เบสแก่
#เกลือที่หลอมเหลวหรือละลายน้ำ จะถูกเรียกว่า สาร[[อิเล็กโทรไลต์]]เนื่องจากมีความสามารถในการ[[นำไฟฟ้า]]
 
==สมบัติ==
===สี===
 
เกลือส่วนมากมีลักษณะใสและไม่มีสี ในหลายๆหลายกรณี สีและความใสจะถูกกำหนดโดยขนาดของรูปผลึก
 
เกลือมีด้วยกันในหลายๆสีก็มี ตัวอย่างเช่น
*สีเหลือง (โซเดียมโครเมต)
*สีส้ม (โพแทซเซียมไดโครเมต)
เส้น 66 ⟶ 59:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
[[หมวดหมู่:เกลือ]]
[[หมวดหมู่:สารประกอบเคมี]]
 
[[yi:זאלץ]]