ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อเทวนิยม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Love Krittaya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Ephesians 2,12 - Greek atheos.jpg|thumb|right|อเทวนิยม ในภาษากรีก {{lang|grc|αθεοι}} (''atheoi'') แปลว่า "ไร้เทพเจ้า" อย่างที่ปรากฏใน[[จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเอเฟซัส|จดหมายเปาโลถึงชาวเอเฟซัส]] (2:12) จาก[[พาไพรัส 46]]ในศตวรรษที่ 3 ตอนต้น]]
'''อเทวนิยม''' ({{lang-en|atheism}}) คือ การปฏิเสธหรือไม่เชื่อในการดำรงอยู่ของ[[พระเจ้า]] และเชื่อในกฎธรรมชาติ ตรงกันข้ามกับ[[เทวนิยม]]<ref name="EB">Encyclopædia Britannica 2009</ref><ref>[http://www.bartleby.com/65/at/atheism.html The Columbia Encyclopedia, Sixth Edition]</ref> อเทวนิยมแตกต่างจาก[[อไญยนิยม]] (agnosticism) ซึ่งเป็นมุมมองที่ว่ามนุษย์ไม่อาจพิสูจน์ได้ว่ามีพระเจ้าหรือไม่ รวมถึงสิ่งอื่นที่นอกเหนือจากปรากฏการณ์ที่รับรู้ได้จากประสบการณ์<ref name="EB" />
 
คำว่า ''atheism'' ในภาษาอังกฤษ มาจาก[[ภาษากรีก]] {{lang|grc|[[:wikt:ἄθεος|ἄθεος]]}} (''atheos'') อันมีความหมายว่า "ไร้เทพเจ้าปราศจากพระเจ้า" โดยใช้เป็นคำหยาบซึ่งใช้กับผู้คนผู้ที่คิดว่าปฏิเสธบรรดาเทพเจ้าพระเจ้าซึ่งในยุคโบราณเป็นที่เชื่อถือกันในสังคมบูชาอย่างแพร่หลายกว้างขวาง หลังจากที่มีความคิดอย่างอิสระ (freethought) ความสงสัยทางวิทยาศาสตร์ (skeptical inquiry) และตามมาด้วย การวิจารณ์ศาสนา (criticism of religion) ที่แพร่หลายมากเพิ่มขึ้นในเวลาต่อมาแล้ว การใช้คำนี้ก็มีความหมายอย่างแคบลง บุคคลกลุ่มแรกที่ริเริ่มเริ่มถือว่าตนเป็นผู้ที่เชื่อว่าพระเจ้ามิมีอยู่จริง โดยเรียกตนเองว่า "atheist" นั้น ใช้ชีวิตอยู่ใน[[ศตวรรษคริสต์ศตวรรษที่ 18]]{{sfn|Armstrong|1999}}
 
เนื่องจากความหมายและความเข้าใจของอเทวนิยมแตกต่างหลากหลายในโลก ปัจจุบันหารู้ได้ยากว่าในโลกมีผู้ที่มิเชื่อพระเจ้ากี่คน<ref name="Martin2007">{{cite book | last=Zuckerman | first=Phil| editor=Martin, Michael T | title=The Cambridge Companion to Atheism | year=2007 | publisher=Cambridge University Press | location=Cambridge, England | isbn=978-0-521-60367-6 | ol = 22379448M | page=56 | url=http://books.google.com/books?id=tAeFipOVx4MC&pg=PA56 | accessdate=2011-04-09}}</ref> อิงตามการคาดคะเนในปี [[พ.ศ. 2553]] แล้ว ผู้มิเชื่อพระเจ้ามีราว 2.3% ในโลก ในขณะที่อีก 11.9% เป็นผู้ที่มิเคร่งศาสนา<ref>{{cite web
|url=http://www.britannica.com/EBchecked/topic/1360391/Religion-Year-In-Review-2007
|title=Worldwide Adherents of All Religions by Six Continental Areas, Mid-2007
บรรทัด 20:
== มโนคติ ==
[[ไฟล์:D'Holbach.jpg|thumb|[[บารอน โดฮ์ลบาค]] ผู้สนับสนุนอเทวนิยมในศตวรรษที่ 18]]
 
=== การอธิบายศาสนาอย่างย่อ ===
นักปรัชญา [[ลุดวิก ฟอยเออร์บาค]]<ref>Feuerbach, Ludwig (1841) ''[[The Essence of Christianity]]''</ref> และนักจิตวิเคราะห์ [[ซิกมุนด์ ฟรอยด์]] กล่าวว่า พระเจ้าและความเชื่อถือเชื่อทางศาสนาต่าง ๆ คือสิ่งที่มนุษย์ก่อสร้างสร้างขึ้นมาเอง โดยสร้างมาเพื่อทดแทนความต้องการทางจิตใจและอารมณ์ ซึ่งก็เป็นแนวคิดที่[[พุทธศาสนิกชน]]หลายกลุ่มเชื่อถือ<ref>Walpola Rahula, ''What the Buddha Taught.'' Grove Press, 1974. Pages 51–52.</ref> [[คาร์ล มาร์กซ์]] และ [[ฟรีดริช เองเงิลส์]] ผู้ซึ่งได้รับอิทธิพลทางแนวคิดจากลุดวิก ฟอยเออร์บาค กล่าวว่า การเชื่อถือในพระเจ้าและศาสนาคือการปฏิบัติทางสังคมหนึ่งซึ่งผู้ที่มีอำนาจนำไปใช้กดขี่ข่มเหงคะเนงร้ายพวก[[ชนชั้นกรรมกร]] [[มีฮาอิล บาคูนิน]]บอกกล่าวกล่าวว่า "ความคิดที่ว่าพระเจ้ามีจริงนั้น บอกเป็นนัยถึงการปฏิเสธทางเหตุผลและทางความยุติธรรมของมนุษย์ เป็นการปฏิเสธอิสรภาพของมนุษย์อย่างเด็ดเดี่ยวที่สุด และต้องทำให้มนุษย์ตกเป็นทาส ทั้งในทฤษฎีและปฏิบัติ" มีฮาอิลย้อนคำคติพจน์ของ[[วอลแตร์]] อันว่าครั้นพระเจ้าไม่มีจริง ผู้คนก็จำต้องสร้างพระเจ้าขึ้นมาเอง มีฮาอิลจึงกลับเขียนว่า "ถ้าพระเจ้ามีจริง คนต้องปฏิเสธพระองค์"<ref>{{cite web |url=http://dwardmac.pitzer.edu/anarchist_archives/bakunin/godandstate/godandstate_ch1.html |title=God and the State |last=Bakunin |first=Michael |authorlink=Michael Bakunin |year=1916 |work= |publisher=New York: Mother Earth Publishing Association | accessdate=2011-04-09| archiveurl= https://web.archive.org/web/20110521195435/http://dwardmac.pitzer.edu/Anarchist_Archives/bakunin/godandstate/godandstate_ch1.html| archivedate=2011-05-21 <!--DASHBot-->| deadurl= no}}
</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
[[หมวดหมู่:ขบวนการทางปรัชญา]]