ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สาธารณรัฐไครเมีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nakwat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 33:
 
ก่อนหน้านี้ ในวันที่ 11 มีนาคม 2557 ทั้งสองเขตเคยอนุมัติมติร่วมแสดงเจตจำนงประกาศอิสรภาพ<ref name="KrimRada">{{cite web|title=Парламент Крыма принял Декларацию о независимости АРК и г. Севастополя|url=http://www.rada.crimea.ua/news/11_03_2014_1|publisher=Государственный Совет Республики Крым|accessdate=18 March 2014|date=11 March 2014}}</ref> ตลอดจนมติแสดงเจตนารวมกับรัสเซีย รัฐบาลทั้งสองเรียกร้องให้มีการลงประชามติเพื่อจุดประสงค์นี้ แม้ว่าเสียงส่วนใหญ่ที่ไปออกเสียงลงคะแนนในการลงประชามตินี้ออกเสียงสนับสนุนเอกราชจากยูเครน แต่นานาชาติไม่รับรองความชอบธรรมและความเป็นธรรมของการออกเสียงดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เพราะการลงประชามตินี้เกิดขึ้นในสถานการณ์ที่รัสเซียกำลังยึดครองคาบสมุทรไครเมียอยู่
==ประวัติศาสตร์ ==
===สงครามไครเมีย ===
ดูเพิ่มที่[[สงครามไครเมีย]]
 
== ประวัติศาสตร์ ==
สงครามไครเมีย (อังกฤษ: Crimean War, ตุลาคม ค.ศ. 1853 – กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1856) เป็นสงครามระหว่างจักรวรรดิรัสเซียฝ่ายหนึ่ง กับพันธมิตรอันประกอบด้วยจักรวรรดิฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ จักรวรรดิออตโตมัน และราชอาณาจักรซาร์ดิเนียอีกฝ่ายหนึ่ง สงครามนี้เป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันอันยาวนานระหว่างมหาอำนาจยุโรปเพื่อมีอิทธิพลเหนือดินแดนของออตโตมันที่เสื่อมอำนาจลง สงครามส่วนใหญ่เกิดขึ้นในคาบสมุทรไครเมีย แต่ยังมีการทัพขนาดเล็กในอนาโตเลียตะวันตก คอเคซัส ทะเลบอลติก มหาสมุทรแปซิฟิก และทะเลขาว
===สมัย[[สหภาพโซเวียต]] ภายใต้สาธารณรัฐโซเวียตรัสเซียและสาธารณรัฐโซเวียตยูเครน ===
ไครเมียอยู่ภายใต้การปกครอง[[สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย]] ตั้งแต่ยุคสมัย[[จักรวรรดิรัสเซีย]] จนกระทั้ง[[นิกีต้า ครุชชอฟ]] ชาวยูเครนขึ้นเป็นผู้นำโซเวียต จึงยกไครเมียให้[[ยูเครน]] หลังการล้มสลายของโซเวียต [[ยูเครน]]ประกาสเอกราชไปพร้อมไครเมีย
 
===[[สาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมีย]] ===
[[ยูเครน]] ได้ให้ไครเมียเป็น[[สาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมีย]] และอยู่ภายใต้ยูเครน ในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2535 และอยู่ภายใต้การปกครองยูเครนถึงปี พ.ศ.2557
 
===วิกฤตการณ์ไครเมีย พ.ศ. 2557 ===
ดูเพิ่มที่[[วิกฤตการณ์ไครเมีย พ.ศ. 2557]]
{{Infobox civil conflict
| title = วิกฤตการณ์ไครเมีย พ.ศ. 2557
| partof = [[ความไม่สงบนิยมรัสเซียในประเทศยูเครน พ.ศ. 2557]]
| image = Crimea crisis map.PNG
| image_size = 251 px
| caption = ที่ตั้งของไครเมีย ยูเครนและรัสเซียในทวีปยุโรป</td></tr><tr><td colspan="3" style="padding-left:5px;">
{{Legend|#000000|'''[[ไครเมีย]]และ[[เซวัสโตปอล]]'''}}
{{Legend|#e38274|'''[[รัสเซีย]]'''}}
{{Legend|#32bd52|'''[[ยูเครน]]ส่วนที่เหลือ'''}}
| date = | date = February 23, 2014&nbsp;– March 19, 2014 <ref name=CNN>{{cite web | url= http://www.cnn.com/2014/03/31/politics/crimea-explainer/ | title=Is Crimea gone? Annexation no longer the focus of Ukraine crisis |work=CNN | accessdate= 12 July 2014}}</ref>({{Age in years, months and days|2014|02|23|2014|03|19}})
| place = Crimean Peninsula
| coordinates =
| causes =
*การชุมนุมประท้วงโดยขบวนการ[[ยูโรไมดาน]]
*Opposition to the Turchynov Presidency and [[Yatsenyuk Government]]
| status =
| result =
* Russian victory
* ยูเครนสูญเสียดินแดนไครเมีย
| side1 =
{{flag|Russia}}
* {{Flagdeco|Russia|naval}} [[กองเรือทะเลดำ]]
* {{Flagdeco|Russia|naval}} [[กองเรือบอลติก]]<ref name="more_ships">[http://www.ukrinform.ua/eng/news/russia_redeploys_ships_of_baltic_and_northern_fleets_to_sevastopol_violates_agreement_with_ukraine_317983 Russia redeploys ships of Baltic and Northern fleets to Sevastopol, violates agreement with Ukraine]. [[Ukrinform]]. March 3, 2014</ref>
* {{Flagdeco|Russia|naval}} [[กองเรือเหนือ]]<ref name="more_ships"/>
 
| side2 =
{{flag|Ukraine}}
*Turchynov Presidency
**{{flagicon image|Flag of Crimea.svg}} Presidential Representative in the [[Autonomous Republic of Crimea]]<br /><small>(until 26 March<ref name="Kunytsyn26March">[http://zakon4.rada.gov.ua/laws/show/342/2014 Про звільнення С. Куніцина з посади Постійного Представника... | від 26.03.2014 № 342/2014] {{uk icon}}</ref>)</small>
 
| leadfigures1 = {{flagicon |Russia}} [[Vladimir Putin]]<br />{{Flagdeco|Russia}} [[Dmitry Medvedev]]
| leadfigures2 = {{Flagdeco|Ukraine}} [[Oleksandr Turchynov]]<br/>{{Flagdeco|Ukraine}} [[Arseniy Yatsenyuk]]
 
 
 
}}
วิกฤตการณ์ไครเมีย พ.ศ. 2557 เป็นวิกฤตการณ์ทางการทูตในเขตปกครองตนเองไครเมีย ประเทศยูเครน อันเป็นผลสืบเนื่องจากการปฏิวัติยูเครน พ.ศ. 2557 ซึ่งโค่นรัฐบาลประธานาธิบดีวิคเตอร์ ยานูคอวิชในกรุงเคียฟ เมืองหลวงของประเทศ ตั้งแต่วันที่ 23 กุมภาพันธ์ มีกลุ่มชาติพันธุ์รัสเซียบางกลุ่มจัดการประท้วงคัดค้านเหตุการณ์ในกรุงเคียฟ และต้องการความสัมพันธ์หรือบูรณาการกับประเทศรัสเซียใกล้ชิดยิ่งขึ้น นอกเหนือไปจากการเพิ่มอัตตาณัติหรือให้เอกราชแก่ไครเมียถ้าเป็นไปได้ การประท้วงบางจุดมิได้ทั้งเกิดขึ้นเองหรือจำกัดอยู่บริเวณใดบริเวณหนึ่งทั้งหมด กลุ่มอื่น ซึ่งที่โดดเด่นประกอบด้วยชาวตาตาร์ไครเมียและชาติพันธุ์ยูเครน เดินขบวนสนับสนุนการปฏิวัติ ยานูคอวิชที่ถูกโค่นอำนาจลี้ภัยไปยังรัสเซีย และเรียกร้องให้กองทัพรัสเซียเข้าแทรกแซงและรักษา "กฎหมายและความสงบเรียบร้อย" ในยูเครน โดยเฉพาะอย่างยิ่งไครเมีย อย่างลับ ๆ
===เอกราชและกลับสู่รัสเซีย ===
วันที่ 17 มีนาคม 2557 เกิดการลงประชามติ ผลปรากฎว่า ไครเมียประกาศเอกราชจากยูเครน และเข้าสู่การเป็นสาธารณรัฐของรัสเซีย รัฐสภาไครเมียประกาศอิสรภาพจากยูเครนอย่างเป็นทางการ และขอเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐรัสเซียอย่างเต็มตัว รัสเซียรับรองเอกราชของไครเมียในวันเดียวกัน
เส้น 89 ⟶ 42:
ไครเมียมีการปกครองโดยมีรัฐสภาไครเมียเป็นนิติบัญญัติ และมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร ส่วนประมุขขึ้นตรงกับ[[ประธานาธิบดีรัสเซีย]]
 
{{โครง-ส่วน}}
== การศึกษา ==
{{บทความหลัก|การศึกษาในประเทศรัสเซีย}}
 
ตั้งแต่ปี ค.ศ.2007 รัฐบาลรัสเซียได้ขยายการศึกษาภาคบังคับจากเดิม 9 ปีเป็น 11 ปี กล่าวคือตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาไปถึงระดับอาชีวศึกษา โรงเรียนในรัสเซียจะแบ่งภาคเรียนออกเป็น 4 ภาคเรียน ซึ่งในแต่ละภาคเรียนจะมีวันหยุด 1-2 สัปดาห์
== ภาษา ==
{{โครง-ส่วน}}
ภาษาประจำชาติและราชการ คือ ภาษารัสเซีย
 
 
== อ้างอิง ==