ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธุดงค์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Justfortemporary (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
ธุดงค์ในปัจจุบันยังคงเป็นแนวการปฏิบัติที่เป็นที่นิยมของชาวพุทธเถรวาททั่วไปในหลายประเทศ โดยไม่จำกัดเฉพาะพระสงฆ์เท่านั้น คฤหัสถ์ทั่วไปก็ถือปฏิบัติได้บางข้อเช่นกัน<ref>The Path of Freedom (Vimuttimagga), Buddhist Publication Society, Kandy, Sri Lanka. ISBN 955-24-0054-6</ref>
 
ปัจจุบัน คำว่า '''ธุดงค์''' ในประเทศไทยถูกใช้ในความหมายว่าเป็นการเดินจาริกของพระสงฆ์ไปยังที่ต่าง ๆ หรือเรียกว่า '''การเดินธุดงค์''' ซึ่งความหมายนี้แตกต่างจากความหมายเดิมใน[[พระไตรปิฎก]]{{fn|1}}แต่ก็น่าจะใช้ได้ไม่ผิดอะไร เพราะการที่พระออกเดินทางย่อมขนสัมภาระไปได้เท่าที่จำเป็น การขนเยอะย่อมเป็นภาระหนักแก่พระที่ออกเดินทาง อันเป็นหัวใจของธุดงค์คือการมีและใช้สอยปัจจัยบริโภคเท่าที่จำเป็นเท่านั้น
 
== ความหมาย ==
บรรทัด 78:
# ถือ " การนั่ง " เป็นวัตร สมาทานว่า " เสยยัง ปะฏิกขิปามิ เนสัชชิกังคัง สะมาธิยามิ "
 
== พระอริยบุคคลที่มีความสำคัญด้านถือธุดงค์ ==
== องค์แห่งผู้ถืออยู่โคนไม้เป็นวัตร ==
*[[พระมหากัสสปะ]] ถือผ้าบังสุกุล อยูป่า บิณฑบาตรเป็นวัตร
*[[พระนาลกะ]] ถือไม่โลเลในการภิกขาจาร ไม่โลเลในเสนาสนะ
*[[พระโมฆะราช]] ถือบังสุกุลทรงจีวรเศร้าหมอง
*[[พระจักขุบาล]] ถือเนสัชชิก
*[[พระมหากาล]] ถืออยู่ป่าช้า
 
๑๐. ปัตตปิณฑิกสูตร
<br />
: [๑๙๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ๕ จำพวกเป็นไฉน คือ
<br />
# ภิกษุเป็นผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร เพราะโง่เขลา เพราะหลงงมงาย ๑
# มีความปรารถนาลามก ถูกความอยากครอบงำ จึงเป็นผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร ๑
# เป็นผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตรเพราะเป็นบ้าเพราะจิตฟุ้งซ่าน ๑
# เป็นผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร เพราะรู้ว่าเป็นวัตรอันพระพุทธเจ้าและสาวกแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายสรรเสริญ ๑
# เป็นผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร เพราะอาศัยความเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ความสันโดษความขัดเกลา ความสงัด ความเป็นผู้มีความต้องการด้วยข้อปฏิบัติอันงามเช่นนี้ ๑
<br />
: ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้แล ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาภิกษุผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้
 
ภิกษุผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร เพราะอาศัยความเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ความสันโดษความขัดเกลา ความสงัด ความเป็นผู้มีความต้องการด้วยข้อปฏิบัติอันงามเช่นนี้<br />
เป็นผู้เลิศ ประเสริฐ เป็นประธาน สูงสุด และดีกว่าภิกษุผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ เปรียบเหมือนนมสดเกิดจากโค นมส้มเกิดจากนมสด เนยข้นเกิดจากนมส้ม เนยใสเกิดจากเนยข้น<br />
หัวเนยใสเกิดจากเนยใส หัวเนยใสชาวโลกย่อมกล่าวว่าเป็นเลิศในจำพวกโครส ๕ เหล่านั้น ฉันใด<br />
<br />
: ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาภิกษุผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้<br />
ภิกษุผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร เพราะอาศัยความเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ความสันโดษความขัดเกลา ความสงัด<br />
ความเป็นผู้มีความต้องการด้วยข้อปฏิบัติอันงามเช่นนี้ เป็นผู้เลิศ ประเสริฐ เป็นประธาน สูงสุด และดีกว่าภิกษุผู้ถือฉันเฉพาะในบาตร<br />
เป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ฉันนั้นเหมือนกัน ฯ<br />
<br />
== เชิงอรรถ ==
{{fnb|1}} '''การจาริก''' ด้วยเท้า ของพระสงฆ์ใน[[ประเทศไทย]] มักเข้าใจปะปนกับคำว่า '''ธุดงค์''' ทั้งนี้เนื่องจากบางข้อของธุดงควัตร เช่น อรัญญิกังคะ หมายถึงการอยู่ในบริเวณป่า ทำให้พระสงฆ์ที่ถือธุดงค์ข้อนี้จะต้องเดินทางไปหาที่วิเวกในบริเวณป่าและไม่อยู่ติดที่เป็นเวลานาน เพื่อให้ห่างไกลจากการรบกวนของผู้คน การทำเช่นนี้ของพระสงฆ์มีมาตั้งแต่พุทธกาล<ref name="กฐินขันธกะ"/> พระสงฆ์ในประเทศไทยคงได้ถือคตินี้และปฏิบัติมาแต่โบราณ ทำให้คนทั่วไปในปัจจุบันมักเรียกกิริยาเช่นนั้น (การจาริกเดินเท้าของพระสงฆ์โดยแบกบริขาร เช่น กรดย่าม และบาตร เพื่อเดินทางไปยังที่ต่าง ๆ ) ว่า '''พระเดินธุดงค์''' หรือ '''การเดินธุดงค์''' ซึ่งเป็นเพียงคำเรียกทั่วไป ที่หากพระสงฆ์ผู้เดินจาริกไม่ได้ถือสมาทานองค์คุณแห่งธุดงค์ข้อใดข้อหนึ่งแล้ว ย่อมไม่ใช่ความหมายของคำว่าธุดงค์ตามนัยในพระไตรปิฎกแต่อย่างใด<ref name="แบบฉบับการเดินธุดงค์"/>
เส้น 109 ⟶ 93:
== ดูเพิ่ม ==
* [[จาริก]]
== พระอริยบุคคลที่มีความสำคัญด้านถือธุดงค์ ==
*[[พระมหากัสสปะ]] ถือผ้าบังสุกุล อยูป่า บิณฑบาตรเป็นวัตร
*[[พระนาลกะ]] ถือไม่โลเลในการภิกขาจาร ไม่โลเลในเสนาสนะ
*[[พระโมฆะราช]] ถือบังสุกุลทรงจีวรเศร้าหมอง
*[[พระจักขุบาล]] ถือเนสัชชิก
*[[พระมหากาล]] ถืออยู่ป่าช้า
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 124 ⟶ 102:
[[หมวดหมู่:พิธีกรรมในศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธ]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ธุดงค์"