ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทะเลสาบหนองหาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
คนละหนองหานจริง ๆ ขออภัย
บรรทัด 1:
{{ระวังสับสน|หนองหานน้อย}}
[[ไฟล์:Nong Han Lake.jpg|thumb|หนองหาน]]
 
'''ทะเลสาบหนองหาน''' หรือ '''หนองหานหลวง'''<ref>{{cite web |url= http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1349061680 |title= หนองหาน ไม่ใช่ หนองหาร ยุคสุโขทัย ปลูกเรือนเสาสูง |author= สุจิตต์ วงษ์เทศ |date= 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 |work= |publisher= มติชนออนไลน์ |accessdate= 14 ตุลาคม 2557 }}</ref> เป็น[[บึง|ทะเลสาบน้ำจืด]]ขนาดใหญ่ที่สุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และใหญ่เป็นอันดับ 2 (รองจากของประเทศ เป็นรองจาก[[บึงบอระเพ็ด) ของประเทศ]]<ref>นิตยสารสารคดี ฉบับที่ 267 พ.ค. 2550 หน้า 172</ref> ตั้งอยู่บริเวณ [[อำเภอเมืองสกลนคร]] [[อำเภอโพนนาแก้ว]] [[จังหวัดสกลนคร]] มีเนื้อที่กว่า 77,000 ไร่ ความลึกเฉลี่ยประมาณ 2.0-10.0 เมตร เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลาน้ำจืด นกน้ำ พื้นที่ชุ่มน้ำที่สำคัญของประเทศไทย สันนิษฐานว่า เกิดจากการยุบตัว ของแผ่นเปลือกโลก อันเนื่องมาจากการถูกชะล้าง ของชั้นหินเกลือใต้ดิน จนเกิดโพรงขนาดใหญ่ และเกิดการพังทลาย ยุบตัวลงเป็นหนองน้ำในเวลาต่อมา ตามคติความเชื่อของ ชาวสกลนคร หนองหาร คือ ผลจากการกระทำ ของ[[พญานาค]] สืบเนื่องมาจากการกระทำ อันผิดทำนองคลองธรรม ของชาย-หญิง ในตำนานผาแดง นางไอ่
 
ทะเลสาบหนองหาร ประกอบ เกาะน้อยใหญ่ มากกว่า 30 เกาะ เกาะที่ขนาดใหญ่ที่สุดคือ เกาะดอนสวรรค์ โดยมีพุทธสถานโบราณ ภายในเกาะ สำหรับผู้ที่ต้องการเที่ยวเยียมชม รวมทั้งทัศนียภาพ น้ำใส สาหร่ายสีทอง นกน้ำ ปลา นานาพันธุ์ และวิถีชีวิต ของชาวประมงหนองหาร หาน
 
ในปี พ.ศ. 2557 [[ซีเอ็นเอ็น]] สื่อมวลชนระดับโลกได้เลือกให้หนองหานเป็นทะเลสาบที่แปลกเป็นอันดับ 2 ของโลก โดยอันดับหนึ่งได้แก่ [[ทะเลสาบแมงกะพรุน]] ใน[[ประเทศปาเลา]] โดยสาเหตุที่เลือกหนองหาน คือ ความงามของดอกบัวแดงหลายพันดอกหลายหมื่นดอก ที่จะเบ่งบานอยู่บนผิวน้ำที่ทะเลสาบหนองหาน เนื้อที่นับ 20,000 ไร่ โดยดอกบัวจะเริ่มผลิบานตั้งแต่เดือนตุลาคม เป็นประจำทุกปี หลังสิ้นสุดฤดูฝนเพียงไม่นาน และจะบานสะพรั่งในเดือนธันวาคม<ref>{{cite web|url=http://www.thairath.co.th/content/435850|title=‘หนองหาน’ เลื่องชื่อ! CNN เลือก อันดับ 2 ทะเลสาบแปลกสุดในโลก |date=12 July 2014|accessdate=12 July 2014|publisher=ไทยรัฐ}}</ref>
 
== อ้างอิง ==