ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รพินทรนาถ ฐากุร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แอนเดอร์สัน ย้ายหน้า รพินทรนาถ ฐากูร ไปยัง รพินทรนาถ ฐากุร: ठाकुर
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ชีวประวัติ
| ชื่อตัว = รพินทรนาถ ฐากูรฐากุร [[ไฟล์:Nobel prize medal.svg|20px]]
| ชื่อภาพ = Tagore3.jpg
| คำบรรยายภาพ = รพินทรนาถ ฐากูรฐากุร ภาพถ่ายที่เมืองกัลกัตตา ประมาณ พ.ศ. 2458
| วันเกิด = [[7 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2404]]
| วันตาย = {{วันตายและอายุ|2484|8|7|2404|5|7|df=y}}
บรรทัด 18:
}}
 
'''รพินทรนาถ ฐากูรฐากุร''' ({{lang-bn|রবীন্দ্রনাথ ঠাকুর, Robindronath Ţhakur}}) ([[7 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2404|2404]] - [[7 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2484|2484]]) มีสมัญญานามว่า "คุรุเทพ" เป็นนักปรัชญาพรหโมสมัช นักธรรมชาตินิยม และกวี[[ภาษาเบงกาลี]] เขาเริ่มเขียนบทกวีครั้งแรกตั้งแต่อายุเพียง 8 ปี ครั้นอายุได้ 16 ปี ก็ได้ตีพิมพ์เผยแพร่งาน[[กวีนิพนธ์]]ภายใต้นามปากกา ''ภาณุสิงโห'' และเริ่มเขียนเรื่องสั้นกับบทละครในปี พ.ศ. 2420 ในช่วงปลายของชีวิต รพินทรนาถต่อต้านการปกครองของรัฐบาล[[อังกฤษ]]อย่างเปิดเผย และร่วมเคลื่อนไหวการประกาศเอกราชของประเทศอินเดีย ผลงานของเขาที่สืบทอดต่อมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากงานกวีนิพนธ์ที่มีชื่อเสียง ยังมีสถาบันการศึกษา คือ [[มหาวิทยาลัยวิศวภารตี]]
 
รพินทรนาถเขียน[[นวนิยาย]] [[เรื่องสั้น]] บทเพลง ละครเพลง และเรียงความมากมายที่เกี่ยวเนื่องกับการเมืองการปกครอง และเกี่ยวกับชีวิตส่วนตัว เขาได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม]] ประจำปี [[ค.ศ. 1913]] นับเป็นชาวเอเชียคนแรกที่ได้รับ[[รางวัลโนเบล]]
 
== ชีวิตเมื่อเยาว์วัยและการศึกษา ==
'''รพินทรนาถ ฐากูรฐากุร''' เกิดที่คฤหาสน์โชราสังโก นคร[[กัลกัตตา]] [[ประเทศอินเดีย]] ท่านเกิดใน[[วรรณะพราหมณ์]] ตระกูลฐากูรฐากุร ซึ่งเป็นตระกูลที่มั่งคั่งที่สุดตระกูลหนึ่งใน[[แคว้นเบงกอล]] และไม่ได้มั่งคั่งแต่เพียงทรัพย์สมบัติเท่านั้น หากยังเพียบพร้อมไปด้วยสติปัญญาอีกด้วย กล่าวคือ ผู้สืบสกุลฐากูรหลายคนฐากุรหลายคน ได้บำเพ็ญกรณียกิจนานาประการ โดยเฉพาะกิจการด้านวัฒนธรรม ทั้งยังเป็นตระกูลที่ดื่มด่ำใน[[วัฒนธรรมอินเดีย]] มีความเลื่อมใสต่อลัทธิที่ภักดีต่อ[[พระวิษณุ]]เจ้าเป็นพิเศษ
 
[[ไฟล์:Rabindranath-Tagore-Mrinalini-Devi-1883.jpg|thumb|left|รพินทรนาถ กับ มฤณาลิณีเทวี]]
รพินทรนาถเป็นบุตรคนที่ 14 ในจำนวน 15 คนของ มหาฤๅษีเทเพนทรนาถ ฐากูรฐากุร ซึ่งให้ความสนใจต่อการศึกษาของบุตรคนเล็กมาก เมื่อรพินทรนาถอายุได้ 11 ปี หลังจากประกอบพิธีสวมด้ายมงคลยัชโญปวีตตามแบบ[[ศาสนาพราหมณ์]]ให้แล้ว ท่านบิดาก็พาบุตรคนเล็กเดิน[[ธุดงค์]]ไปยังเมืองอมฤตสาร์ และ[[เทือกเขาหิมาลัย]]เป็นเวลาหลายเดือน กล่าวได้ว่าทัศนะทางด้านศาสนาของรพินทรนาถนั้น ได้รับอิทธิพลมาจากบิดามากทีเดียว รวมทั้งนิสัยที่ชอบเดินทาง นอกจากท่องเที่ยวในประเทศแล้ว ท่านยังได้ไปบรรยายที่[[สหรัฐอเมริกา]] 5 ครั้ง [[ยุโรป]] 5 ครั้ง [[ญี่ปุ่น]] 3 ครั้ง และที่[[จีน]] [[อเมริกาใต้]] [[สหภาพโซเวียต]] และ[[เอเชียอาคเนย์]]แห่งละครั้ง
 
ความสามารถในเชิงการเขียนของท่านเกิดขึ้นเมื่ออายุ 14 ปี รพินทรนาถเขียนเพลงปลุกใจ พาดพิงถึง[[งานมหกรรมเดลฮีเดอร์บาร์]] โดยดำริของ[[ลอร์ด ลิททัน]] ด้วยท่าทีเย้ยหยัน เพราะเป็นความสนุกสนานท่ามกลางภาวะขาดแคลนของประเทศในขณะนั้น ความโด่งดังของรพินทรนาถทำให้ได้รับสมญานามว่า "[[เกอเธ่]]แห่งอินเดีย"
บรรทัด 38:
ในช่วงสิบปีสุดท้ายของชีวิต รพินทรนาถยังคงดำเนินกิจกรรมทางสังคมอยู่อย่างต่อเนื่อง ท่านได้เรียบเรียงงานเขียนต่างๆ ออกมาได้เป็นหนังสือ 15 เล่ม ในจำนวนนี้รวมถึงงานเขียน ''Punashcha'' (2475) ''Shes Saptak'' (2478) และ ''Patraput'' (2479) ท่านยังทดลองสร้างผลงานแนวใหม่ๆ เช่นบทเพลงร้อยแก้ว และละครเต้นรำ เขียนนวนิยายเพิ่มอีกหลายเรื่องเช่น ''Dui Bon'' (2476) ''Malancha'' (2477) และ ''Char Adhyay'' (2477) นอกจากนี้ รพินทรนาถยังให้ความสนใจกับ[[วิทยาศาสตร์]] [[ชีววิทยา]] [[ฟิสิกส์]] และ[[ดาราศาสตร์]] ซึ่งศาสตร์ต่างๆ เหล่านี้ปรากฏแทรกอยู่ในบรรดางานกวีนิพนธ์ของท่านด้วย แสดงให้เห็นถึงความเคารพนบน้อมต่อธรรมชาติ
 
ฐากูรฐากุรได้กลับมาถึงแก่กรรมที่คฤหาสน์หลังเดิมที่ตนเคยพำนักในวัยเยาว์ เมื่อวันที่ [[7 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2484]] รวมอายุ 80 ปี 3 เดือน
 
== ผลงาน ==
บรรทัด 45:
ผลงานของท่านนั้นมีอยู่เป็นจำนวนมาก นอกจากบท[[ร้อยกรอง]]กับบทละครซึ่งมีอยู่ถึงหนึ่งหมื่นห้าพันบรรทัด ยังมี[[วรรณกรรม]]ประเภท [[นวนิยาย]] [[เรื่องสั้น]] [[อัตชีวประวัติ]] [[บทวิจารณ์]] และ[[บทความ]] นานาชนิด
 
ปี พ.ศ. 2455 รพินทรนาถได้แปลบท[[กวีนิพนธ์]]ที่เขียนอุทิศให้แก่ภรรยาและบุตร 3 ใน 5 คนที่เสียชีวิตไปเป็นภาษาอังกฤษ แล้วรวบรวมนำมาพิมพ์เป็นเล่มให้ชื่อว่า '[[คีตาญชลี]]' อีก 1 ปีถัดมาขณะที่อายุได้ 52 ปี [[ราชบัณฑิตยสถาน]]แห่ง[[สวีเดน]]ได้ประกาศจากกรุง[[สตอกโฮล์ม]] ว่าผู้ได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม]]ประจำปี คือ รพินทรนาถ ฐากูรฐากุร จากบทประพันธ์คีตาญชลี ท่านเป็นชาว[[เอเชีย]]คนแรกที่ได้รับรางวัลอันทรงเกียรตินี้
 
ผลงานของรพินทรนาถ อันเป็นที่รู้จักกันดีทั่วไป อาทิ [[คีตาญชลี]] [[บทกวีจันทร์เสี้ยว]] [[บทละครเรื่องจิตรา]] [[เพลงชาติอินเดีย]] [[เรื่องสั้นราชากับรานี]] [[เรื่องสั้นนายไปรษณีย์]] [[พระกรรณะกับนางกุนตี]] ฯลฯ
บรรทัด 59:
{{รายการอ้างอิง}}
* หนังสือ 'บ่อเกิดลัทธิประเพณีอินเดีย' แปลโดย [[จำนงค์ ทองประเสริฐ]].
* บทความ 'ชีวิตและงานของรพินทรนาถ ฐากูรฐากุร' โดย [[เรืองอุไร กุศลาศัย]] และ[[กรุณา กุศลาศัย]].
 
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์|Rabindranath Tagore}}
* [http://www.calcuttaweb.com/tagore/index.shtml ชีวประวัติ รพินทรนาถ ฐากูรฐากุร ที่ กัลกัตตาเว็บดอตคอม]
* [http://nobelprize.org/nobel_prizes/literature/articles/sen/ "Tagore and his India" (ฐากูรฐากุรกับอินเดียของเขา)] จากเว็บไซต์มูลนิธิรางวัลโนเบล
* [http://www.visva-bharati.ac.in/Rabindranath/Rabindranath.htm ''รพินทรนาถผู้ให้กำเนิด''] บทความจากเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยวิศวภารตี
 
บรรทัด 74:
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม]]
[[หมวดหมู่:ชาวอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดู]]
[[หมวดหมู่:รพินทรนาถ ฐากูรฐากุร]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโกลกาตา]]