ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อีวาน ปัฟลอฟ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 49:
== เกียรติประวัติและมรดก ==
[[ไฟล์:One of Pavlov's dogs.jpg|thumb|สุนัขตัวหนึ่งของปาฟลอฟ ที่พิพิธภัณฑ์ปาฟลอฟ [[รีซาน]] [[ประเทศรัสเซีย]]]]
แนวคิดของปาฟลอฟที่เป็นที่โด่งดังไปทั่วคือ [[การวางconditioned reflex|รีเฟล็กซ์มีเงื่อนไขสะท้อน]] (conditioned reflex) ซึ่งเขาพัฒนาร่วมกับผู้ช่วยชื่อ อีวาน ฟิลิปโปวิช โทโลชินอฟ (Ivan Filippovitch Tolochinov) ในปี ค.ศ. 1901<ref>{{cite book
| last = Todes
| first = Daniel Philip
บรรทัด 62:
| doi =
| id =
| isbn = 0801866901}}</ref> โทโลชินอฟได้เผยแพร่ผลการศึกษาที่สภาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติใน[[เฮลซิงกิ]]ในปี ค.ศ. 1903<ref>Anrep (1927) p142</ref> เมื่องานของพาฟลอฟเป็นที่รู้จักกันโลกตะวันตก โดยเฉพาะเมื่อผ่านงานเขียนของ[[จอห์น บี. วัตสัน]] ความคิดเกี่ยวกับการวางเงื่อนไขในฐานะรูปแบบอัตโนมัติของการเรียนรู้กลายมาเป็นแนวคิดหลักของการมุ่งศึกษาด้าน[[จิตวิทยาเปรียบเทียบ]] และทฤษฎี[[พฤติกรรมมนุษย์ (behaviorism)นิยม]] อาทิ[[เบอร์ทรานด์ รัสเซิลล์]] นัก[[ปรัชญา]]ชาวอังกฤษได้สนับสนุนงานของพาฟลอฟเกี่ยวกับปรัชญาของจิตใจจิต (philosophy of mind)
 
งานวิจัยของพาฟลอฟเกี่ยวกับการวางเงื่อนไขสะท้อนมีอิทธิพลอย่างมากไม่เฉพาะด้านวิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่ยังเกี่ยวกับวัฒนธรรมอีกด้วย วลีที่ว่า "สุนัขของปาฟลอฟ" มักใช้เรียกคนที่ตอบสนองต่อสถานการณ์แทนที่จะใช้ความคิดเชิงวิพากษ์ การวางเงื่อนไขของปาฟลอฟยังเป็นแนวคิดหลักของ[[นิยายวิทยาศาสตร์]][[นวนิยายแนวดิสโทเปีย|แนวดิสโทเปีย]]ของ[[อัลดัส ฮักซลีย์]]ชื่อ ''[[โลกวิไลซ์]] (Brave New World) '' และนวนิยาย ''[[Gravity's Rainbow]]'' ชื่อ[[โทมัส พินชอน]] (Thomas Pynchon) ทฤษฎีของเขายังมีผลต่อละครแนววิทยาศาสตร์เช่น ''[[ดิ เอ็กซ์-ไฟล์ส]]'' (The X-Files)
 
เป็นที่เชื่อกันว่าปาฟลอฟนั้นจะสั่นกระดิ่งเป็นสิ่งกระตุ้นก่อนให้อาหารสุนัข แต่จริงๆจริง ๆ แล้วจากงานเขียนของเขาบันทึกว่าเขาใช้สิ่งกระตุ้นหลากหลายชนิดมาก ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าช็อต เสียงนกหวีด เครื่องเคาะจังหวะ ส้อมเสียง และสิ่งกระตุ้นทางการมองเห็น นอกเหนือจากการใช้กระดิ่ง บางแหล่งข้อมูลยังไม่มั่นใจว่าปาฟลอฟเคยใช้กระดิ่งในงานวิจัยของเขาจริงๆ จริงหรือไม่<ref>Catania, A. Charles (1994) ; ''Query: Did Pavlov's Research Ring a Bell?'', PSYCOLOQUY Newsletter, Tuesday, [[7 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2537]]</ref> บางแห่งสันนิษฐานว่าคนอื่นๆ อื่นที่เกิดในยุคเดียวกับปาฟลอฟเป็นผู้ใช้กระดิ่งทดลอง เช่น วลาดิมีร์ บาฮ์เจเรฟ (Vladimir Bekhterev) หรือจอห์น บี. วัตสัน (John B. Watson) แต่บางแห่งกล่าวว่ามีแหล่งอ้างอิงหลายแหล่งกล่าวชัดเจนว่าปาฟลอฟใช้กระดิ่งทดลอง<ref>Thomas, Roger K. (1994) ; ''Pavlov's Rats "dripped Saliva at the Sound of a Bell"'', Psycoloquy, Vol. 5, No. 80 http://www.cogsci.ecs.soton.ac.uk/cgi/psyc/newpsy?5.80 (accessed 2006-aug-22) </ref>
 
== อ้างอิง ==