ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สามอาร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus ย้ายหน้า วิชาสามอย่าง ไปยัง สามอาร์
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''สามอาร์''' หมายถึง รากฐานของโครงการการศึกษาที่เน้นทักษะพื้นฐานในโรงเรียน ได้แก่ การอ่าน การเขียนและเลขคณิต สามอาร์ปรากฏใน "เดอะเลดีส์แมกาซีน" ใน ค.ศ. 1818 แต่ถูกอ้างว่ามาจากวลีที่ประดิษฐ์ในการดื่มอวยพรที่ให้โดย เซอร์วิลเลียม เคอร์ติส สมาชิกรัฐสภา เมื่อราว ค.ศ. 1825<ref>[http://books.google.com/books?id=tBc4AAAAYAAJ&pg=PA75&dq=%22reading,+writing+and+%27rithmetic%22&lr=&as_drrb_is=b&as_minm_is=1&as_miny_is=1000&as_maxm_is=1&as_maxy_is=1850&as_brr=4&ei=IbHzSqLMKZXokATMprHKBQ#v=onepage&q=%22reading%2C%20writing%20and%20%27rithmetic%22&f=false The Mirror of Literature Amusement and Instruction, Volume 5] by John Timbs, J. Limbird, 1825</ref>
'''วิชาสามอย่าง''' มาจากคำว่า ''three R's'' <ref>พจนานุกรม สอ เสถบุตร<small> (SO SETHAPUTRA)</small></ref> หมายถึงรากฐานของทักษะพื้นฐานสำคัญทางการศึกษาและวิธีฝึกฝนในสามประการ ซึ่งคำดังกล่าวหมายถึงสำนวนการพูดแบบคำวลีที่มีข้อคิดต่อสามสิ่งทางความหมายอื่นๆอีกด้วย ในปัจจุบัน อาจเพียงแค่ใช้เป็นคำวลีสำหรับการประกาศเกียรติคุณแห่งขนมปังปิ้งเท่านั้นก็ได้ แต่คำว่า <font face="true" size="true" style="color:black">“ วิชาสามอย่าง ”</font> ที่เกิดมีขึ้นโดย[[เซอร์วิลเลียมเคอร์ติส]]<ref>[http://ramsgatehistory.com/information/sir_william_curtis.pdf Sir William Curtis (Bart) 1752-1829]</ref> หมายถึง การอ่าน การเขียน และวิชาเลข ,ถึงในปัจจุบันในยุคนี้ทุกคนกำหนดขึ้นใหม่<ref>[http://www.savemobile.org/Recycle/The3Rs.pdf This
lesson
plan
has
been
designed
and
made
available
by
the
S.A.V.E.
Foundation.]</ref><ref>[http://www.nscc.org.uk/docs/general/002fGuidanceonwaste.pdf Reduce, Reuse, Recycle]</ref> ทุกคนได้ยินคำขนานนามเหล่านี้ ว่า หมายถึง
 
:# การไม่เพิ่มปริมาณ
== อ้างอิง ==
:# การใช้ซ้ำ
{{รายการอ้างอิง}}
:# การรีไซเคิล
 
* สำนวนเดิมที่แสดงโดย เซอร์วิลเลียมเคอร์ติส (ราวปี ค.ศ. 1795)<ref>[http://connection.ebscohost.com/c/editorials/31551648/story-three-rs เรื่องราวของการอ่าน การเขียน และการคำนวน โดย Stevens Brian]</ref> เขาเรียกสิ่งเหล่านี้ ว่า คือ
[[หมวดหมู่:คำและวลีภาษาอังกฤษ]]
:# การอ่าน
:# การเขียน
:# และคณิตศาสตร์
จากการอ่านการเขียนและความคิดในด้านการศึกษาที่ทันสมัย ในทางความรู้สำหรับบางคนหรือโดยทั่วไปแล้ว อาจหมายถึง การมีความสามารถที่จะเข้าใจและแสดงความคิดออกมา ผ่านการสื่อคำ และสามารถสื่อความจริงที่ทันสมัยจากการคำนวณทางคณิตศาสตร์ เหตุผลของการหาแนวคิดจากการคำนวณ หมายถึง ความสามารถที่จะเข้าใจความคิดที่แสดงออกมา ตามรูปเฉพาะ ตามลักษณะตัวเลขและการอนุมาน กล่าวกันว่า คือ <font face="true" size="true" style="color:black">“ สรรพวิชาสาม ”</font> ซึ่งคำเหล่านี้มาจาก การแสดงความหมายของ [[เซนต์ออกัสติน]] ที่ใช้แสดงความหมาย ต่อการเรียนรู้ที่ลึกซึ้ง
----
<references/>
[[หมวดหมู่:คำและวลี]]
[[หมวดหมู่:สำนวน]]
{{โครง}}