ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาเฟอีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
autoCategory
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 40:
}}
 
'''คาเฟอีนกาเฟอีน''' ({{lang-enfr|caffeinecaféine}}) เป็นสารแซนทีน[[อัลคาลอยด์]] ซึ่งสามารถพบได้ในอาหารหลายชนิดได้แก่ เมล็ด[[กาแฟ]], [[ชา]], โคล่า คาเฟอีนกาเฟอีนถือว่าเป็น[[ยากำจัดศัตรูพืช]]โดยธรรมชาติ เพราะมันออกฤทธิ์ทำให้[[อัมพาต]] และสามารถฆ่าแมลงบางชนิดได้ คาเฟอีนกาเฟอีนยังมีฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้ร่างกายเกิดความตื่นตัวและลด[[ความง่วง]]ได้ เครื่องดื่มหลายชนิดมีคาเฟอีนกาเฟอีนเป็นส่วนผสม เช่นใน[[กาแฟ]] [[น้ำชา]] [[น้ำอัดลม]] รวมทั้ง[[เครื่องดื่มชูกำลัง]] ด้วยเหตุนี้จึงทำให้คาเฟอีนกาเฟอีนเป็นสารกระตุ้นประสาทที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก
 
== แหล่งของคาเฟอีนกาเฟอีน ==
เมล็ด[[กาแฟ]]จัดเป็นพืชที่เป็นแหล่งของคาเฟอีนกาเฟอีนที่ใหญ่ที่สุด ปริมาณคาเฟอีนกาเฟอีนที่อยู่ในกาแฟจะขึ้นอยู่กับปัจจัยหลักสองประการ คือชนิดของเมล็ด[[กาแฟ]]ที่เป็นแหล่งผลิต และกรรมวิธีในการเตรียม[[กาแฟ]] เช่น เมล็ด[[กาแฟ]]ที่คั่วจนเป็นสีเข้มจะมีปริมาณคาเฟอีนกาเฟอีนน้อยกว่าเมล็ดที่คั่วไม่นาน เนื่องจากคาเฟอีนกาเฟอีนสามารถสลายตัวไปได้ระหว่างการคั่ว และ[[กาแฟ]]พันธุ์[[อาราบิกา]]จะมีปริมาณคาเฟอีนกาเฟอีนน้อยกว่า[[กาแฟ]]พันธุ์[[โรบัสตา]] เป็นต้น โดยทั่วไปกาแฟ[[เอสเปรสโซ]]จากเมล็ด[[กาแฟ]]พันธุ์[[อาราบิกา]]จะมีคาเฟอีนกาเฟอีนประมาณ 40 มิลลิกรัม นอกจากนี้ในเมล็ด[[กาแฟ]]ยังพบอนุพันธุ์ของคาเฟอีนกาเฟอีน คือ[[ธีโอฟิลลิน]] (Theophyllin) ในปริมาณเล็กน้อยอีกด้วย
 
ใบ[[ชา]]ยังเป็นแหล่งของคาเฟอีนกาเฟอีนที่สำคัญอีกแหล่งหนึ่ง พบว่าจะมีคาเฟอีนกาเฟอีนมากกว่า[[กาแฟ]]ในปริมาณเดียวกัน แต่วิธีชงดื่มของชานั้น ทำให้ปริมาณคาเฟอีนกาเฟอีนลดลงไปมาก แต่ชาจะมีปริมาณของ[[ธีโอฟิลลิน]]อยู่มาก และพบอนุพันธุ์อีกชนิดของคาเฟอีนกาเฟอีน คือ[[ธีโอโบรมีน]] (Theobromine) อยู่เล็กน้อยด้วย ชนิดของใบ[[ชา]]และกระบวนวิธีการเตรียมก็เป็นปัจจัยสำคัญของคาเฟอีนกาเฟอีนในน้ำ[[ชา]]เช่นเดียวกับใน[[กาแฟ]] เช่นใน[[ชาดำ]]และ[[ชาอูหลง]]จะมีคาเฟอีนกาเฟอีนมากกว่าในชาชนิดอื่นๆ อย่างไรก็ตาม สีของน้ำชาไม่ได้เป็นลักษณะบ่งชี้ถึงปริมาณคาเฟอีนกาเฟอีนในน้ำชา เช่นใน[[ชาเขียว]][[ญี่ปุ่น]]ซึ่งจะมีปริมาณคาเฟอีนกาเฟอีนสูงกว่า[[ชาดำ]]บางชนิด
 
[[ช็อคโกแลต]]ซึ่งผลิตมาจากเมล็ด[[โกโก้]]ก็เป็นแหล่งของคาเฟอีนกาเฟอีนเช่นเดียวกัน แต่ในปริมาณที่น้อยกว่าเมล็ดกาแฟและใบชา แต่เนื่องจากในเมล็ด[[โกโก้]]มีสาร[[ธีโอฟิลลิน]]และ[[ธีโอโบรมีน]]อยู่มาก จึงมีฤทธิ์อ่อนๆในการกระตุ้นประสาท อย่างไรก็ตาม ปริมาณของสารดังกล่าวนี้ก็ยังน้อยเกินไปที่จะให้เกิดผลกระตุ้นประสาทเช่นเดียวกับ[[กาแฟ]]ในปริมาณที่เท่ากัน
 
[[น้ำอัดลม]]และ[[เครื่องดื่มชูกำลัง]]เป็นเครื่องดื่มที่พบคาเฟอีนกาเฟอีนได้มากเช่นเดียวกัน [[น้ำอัดลม]]ทั่วไปจะมีคาเฟอีนกาเฟอีนประมาณ 10-50 มิลลิกรัมต่อหนึ่งหน่วยบริโภค ขณะที่[[เครื่องดื่มชูกำลัง]] เช่น[[กระทิงแดง]] จะมีคาเฟอีนกาเฟอีนอยู่มากถึง 80 มิลลิกรัมต่อหนึ่งหน่วยบริโภค คาเฟอีนกาเฟอีนที่ผสมอยู่ในเครื่องดื่มเหล่านี้อาจมาจากพืชที่เป็นแหล่งผลิต แต่ส่วนใหญ่จะได้จากคาเฟอีนกาเฟอีนที่สกัดออกระหว่างการผลิต[[กาแฟพร่องคาเฟอีนกาเฟอีน]] (decaffeinated coffee)
 
== สถานะทางเคมี ==
คาเฟอีนกาเฟอีน เป็นสาร[[อัลคาลอยด์]]ซึ่งจัดอยู่ในตระกูล[[เมทิลแซนทีน]] ซึ่งอยู่ในตระกูลเดียวกันกับสารประกอบ[[ธีโอฟิลลิน]] และ [[ธีโอโบรมีน]] ในสถานะบริสุทธิ์ จะมีสีขาวเป็นผง และมีรสขมจัด สูตรทางเคมีคือ [[คาร์บอน|C]]<sub>8</sub>[[ไฮโดรเจน|H]]<sub>10</sub>[[ไนโตรเจน|N]]<sub>4</sub>[[ออกซิเจน|O]]<sub>2</sub>,
 
== เมแทบอลิซึมและเภสัชวิทยา ==
คาเฟอีนกาเฟอีนจัดเป็น[[สารกระตุ้น]][[ระบบประสาทส่วนกลาง]]และ[[เมแทบอลิซึม]]หรือกลไกการเผาผลาญสารอาหารในร่างกาย <ref> {{cite journal | last = Nehlig | first = A | coauthors = Daval JL, Debry G | title = Caffeine and the central nervous system: Mechanisms of action, biochemical, metabolic, and psychostimulant effects | journal = Brain Res Brain Res Rev | volume = 17 | issue = 2 | pages = 139-70 | date = 1992 May-Aug | id = PMID 1356551 }}</ref>เพื่อลดความง่วง ความเหนื่อยล้า และจะส่งผลกระตุ้นเส้นประสาท โดยมีการปล่อย[[โปแตสเซียม]]และ[[แคลเซียม]] เข้าสู่เซลล์ประสาท เพิ่มการตื่นตัวของร่างกาย โดยใน[[ระบบประสาท]] คาเฟอีนกาเฟอีนจะไปกระตุ้นการทำงานในระดับสูงของ[[สมอง]] เพื่อเพิ่มความกระปรี้กระเปร่า ทำให้กลไกการคิดรวดเร็วและมีสมาธิมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ร่างกายมีกระบวนการต่างๆในการแปรรูปคาเฟอีนกาเฟอีนที่ได้รับมาเป็นสารอนุพันธุ์ชนิดอื่นซึ่งมีฤทธิ์ต่างๆกัน ซึ่งกล่าวถึงในหัวข้อถัดไป
 
=== เมแทบอลิซึม ===
[[ไฟล์:Caffeine metabolites.svg|thumb|right|350px|คาเฟอีนกาเฟอีนถูกแปรสภาพโดนเอนไซม์ในตับ ได้เป็นอนุพันธุ์ของคาเฟอีนกาเฟอีนสามชนิด คือ
[[พาราแซนทีน]] (84%), [[ธีโอโบรมีน]] (12%), and [[ธีโอฟิลลิน]] (4%)]]
คาเฟอีนกาเฟอีนจะถูกดูดซึมที่[[กระเพาะอาหาร]]และ[[ลำไส้เล็ก]]ภายใน 45 นาทีหลังจากการบริโภค หลังจากนั้นจะถูกนำเข้ากระแสเลือดและลำเลียงไปทั่วร่างกาย [[ครึ่งชีวิต]]ของคาเฟอีนกาเฟอีนในร่างกาย หรือเวลาที่ร่างกายใช้ในการกำจัดคาเฟอีนกาเฟอีนในปริมาณครึ่งหนึ่งของที่บริโภค จะแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคลโดยมีปัจจัยต่างๆ เช่นอายุ ระดับการทำงานของ[[ตับ]] ภาวะตั้งครรภ์และการใช้ยาอื่นร่วมด้วย ในผู้ใหญ่ปกติจะมีครึ่งชีวิตของคาเฟอีนกาเฟอีนประมาณ 3-4 ชั่วโมง ในขณะที่หญิงที่ทาน[[ยาคุมกำเนิด]]และหญิงตั้งครรภ์อาจมีครึ่งชีวิตของคาเฟอีนกาเฟอีนประมาณ 5-10 ชั่วโมง <ref> {{cite journal | last = Meyer | first = FP | coauthors = Canzler E, Giers H, Walther H. | title = Time course of inhibition of caffeine elimination in response to the oral depot contraceptive agent Deposiston. Hormonal contraceptives and caffeine elimination | journal = Zentralbl Gynakol | volume = 113 | issue = 6 | pages = 297-302 | date = 1991 | id = PMID 2058339 }}</ref> และ 9-11 ชั่วโมง .<ref> {{cite journal | last = Ortweiler | first = W | coauthors = Simon HU, Splinter FK, Peiker G, Siegert C, Traeger A. | title = Determination of caffeine and metamizole elimination in pregnancy and after delivery as an in vivo method for characterization of various cytochrome p-450 dependent biotransformation reactions | journal = Biomed Biochim Acta. | volume = 44 | issue = 7-8 | pages = 1189-99 | date = 1985 | id = PMID 4084271 }}</ref> ตามลำดับ ในผู้ป่วย[[โรคตับ]]ระยะรุนแรง อาจมีการสะสมของคาเฟอีนกาเฟอีนในร่างกายได้นานถึง 96 ชั่วโมง.<ref> {{cite journal | last = Bolton, Ph.D. | first = Sanford | coauthors = Gary Null, M.S. | title = Caffeine: Psychological Effects, Use and Abuse | journal = Orthomolecular Psychiatry | volume = 10 | issue = 3 | pages = 202-211 | date = 1981 | url = http://www.orthomolecular.org/library/jom/1981/pdf/1981-v10n03-p202.pdf | accessdate = 2010-07-02 }}</ref> สำหรับในทารกและเด็กจะมีครึ่งชีวิตของคาเฟอีนกาเฟอีนที่นานกว่าผู้ใหญ่ พบว่าในทารกแรกเกิดจะมีครึ่งชีวิตของคาเฟอีนกาเฟอีนประมาณ 30 ชั่วโมง
คาเฟอีนกาเฟอีนจะถูกเปลี่ยนแปลงสภาพที่[[ตับ]] โดยอาศัยการทำงานของ[[เอนไซม์]] [[ไซโตโครม พี 450 ออกซิเดส]] (Cytochrome P450 oxidase) ซึ่งเอนไซม์นี้จะเปลี่ยนคาเฟอีนกาเฟอีนให้เป็นอนุพันธุ์สามชนิด <ref>
{{cite web | title = Caffeine | publisher = The Pharmacogenetics and Pharmacogenomics Knowledge Base | url = http://www.pharmgkb.org/do/serve?objId=464&objCls=DrugProperties#biotransformationData | accessdate = 2006-08-14 }}</ref> คือ
* [[พาราแซนทีน]] (Paraxanthine) มีผลในการสลาย[[ไขมัน]] เพิ่มปริมาณของ[[กลีเซอรอล]]และ[[กรดไขมัน]]ในกระแสเลือด
บรรทัด 69:
 
=== การออกฤทธิ์ ===
เนื่องจากคาเฟอีนกาเฟอีนเป็นสารในกลุ่ม[[แซนทีน]][[แอลคาลอยด์]]ที่มีโครงสร้างคล้ายคลึงกับ[[แอดิโนซีน]] (Adenosine) ซึ่งเป็น[[สารสื่อประสาท]]ชนิดหนึ่งใน[[สมอง]] โมเลกุลของคาเฟอีนกาเฟอีนจึงสามารถจับกับ[[ตัวรับแอดิโนซีน]] (adenosine receptor) ใน[[สมอง]]และยับยั้งการทำงานของ[[แอดิโนซีน]]ได้ <ref> {{cite journal | last = Fisone G | first = G | coauthors = Borgkvist A, Usiello A | title = Caffeine as a psychomotor stimulant: mechanism of action | journal = Cell Mol Life Sci | volume = 61 | issue = 7-8 | pages = 857-72 | date = 2004 Apr | id = PMID 15095008 | url = http://www.springerlink.com/content/605nwu366ay2c6xt/ }}</ref> ผลโดยรวมคือทำให้มีการเพิ่มการทำงานของสารสื่อประสาท[[โดปามีน]] (dopamine) ซึ่งทำให้สมองเกิดการตื่นตัว นอกจากนี้พบว่าอาจจะมีการเพิ่มปริมาณของ[[ซีโรโทนิน]] (serotonin) ซึ่งมีผลต่ออารมณ์ของผู้บริโภค ทำให้รู้สึกพึงพอใจและมีความสุขมากขึ้น อย่างไรก็ตาม คาเฟอีนกาเฟอีนมิได้ลดความต้องการนอนหลับของสมอง เพียงแต่ลดความรู้สึกเหนื่อยล้าลงเท่านั้น
 
อย่างไรก็ดี สมองจะมีการตอบสนองต่อคาเฟอีนกาเฟอีนโดยการเพิ่มปริมาณของ[[ตัวรับแอดิโนซีน]] ทำให้ฤทธิ์ของคาเฟอีนกาเฟอีนในการบริโภคครั้งต่อไปลดลง เราเรียกภาวะนี้ว่าภาวะทนต่อคาเฟอีนกาเฟอีน (caffeine tolerance)และทำให้ผู้บริโภคต้องการคาเฟอีนกาเฟอีนมากขึ้นเพื่อให้เกิดผลต่อร่างกาย ผลอีกประการที่เกิดจากการที่สมองเพิ่มปริมาณของ[[ตัวรับแอดิโนซีน]] นั่นคือทำให้ร่างกายไวต่อปริมาณ[[แอดิโนซีน]]ที่ผลิตตามปกติมากขึ้น <ref name="PMID 3003150"> {{cite journal | last = Green | first = RM | coauthors = Stiles GL | title = Chronic caffeine ingestion sensitizes the A1 adenosine receptor-adenylate cyclase system in rat cerebral cortex | journal = J Clin Invest | volume = 77 | issue = 1 | pages = 222-227 | date = Jan 1986 | url = http://www.ncbi.nlm.nih.gov/entrez/query.fcgi?cmd=Retrieve&db=PubMed&list_uids=3003150|id = PMID 3003150 }}</ref>เมื่อหยุดการบริโภคคาเฟอีนกาเฟอีนในทันที จะทำให้เกิดผลข้างเคียงคืออาการ[[ปวดศีรษะ]]และรู้สึก[[คลื่นไส้]][[อาเจียน]] ซึ่งเป็นผลมาจากการที่ร่างกายตอบสนองต่อแอดิโนซีนมากเกินไปนั่นเอง นอกจากนี้ ในผู้ที่หยุดบริโภคคาเฟอีนกาเฟอีนจะทำให้ปริมาณของ[[โดปามีน]]และ[[ซีโรโทนิน]]ลดลงในทันที ส่งผลให้สูญเสียสมาธิและความตั้งใจ รวมทั้งอาจเกิดอาการ[[ซึมเศร้า]]อย่างอ่อนๆได้ อาการดังกล่าวนี้จะเกิดขึ้นประมาณ 12-24 ชั่วโมงหลังจากการหยุดบริโภคคาเฟอีนกาเฟอีน แต่จะหายไปได้เองภายใน 2-3 วัน อาการของการอดคาเฟอีนกาเฟอีนดังกล่าวสามารถบรรเทาได้โดยการใช้ยา[[แอสไพริน]] หรือการได้รับคาเฟอีนกาเฟอีนในปริมาณน้อย<ref> {{cite journal | last = Sawynok | first = J | title = Pharmacological rationale for the clinical use of caffeine. | journal = Drugs | volume = 49 | issue = 1 | pages = 37-50 | date = Jan 1995 | id = PMID 7705215 | accessdate = 2006-08-14 }}</ref>
 
== ภาวะเสพติดคาเฟอีนกาเฟอีน และภาวะพิษคาเฟอีนกาเฟอีน ==
การบริโภคคาเฟอีนกาเฟอีนปริมาณมากเป็นเวลานาน อาจนำไปสู่ภาวะเสพติดคาเฟอีนกาเฟอีน (caffeinism) ซึ่งจะปรากฏอาการต่างๆทั้งทางร่างกายและทางจิตใจ เช่น กระสับกระส่าย วิตกกังวล กล้ามเนื้อกระตุก นอนไม่หลับ ใจสั่น เป็นต้น <ref name="EofMD"> {{cite web | title = Caffeine-related disorders | publisher = Encyclopedia of Mental Disorders | url = http://www.minddisorders.com/Br-Del/Caffeine-related-disorders.html|accessdate = 2006-08-14 }}</ref> นอกจากนี้การบริโภคคาเฟอีนกาเฟอีนเป็นเวลานานอาจทำให้เกิด[[แผลในกระเพาะอาหาร]] [[ลำไส้เล็กอักเสบ]] และ[[โรคน้ำย่อยไหลย้อนกลับ]] (gastroesophageal reflux disease) <ref> {{cite web | title = Gastroesophageal Reflux Disease (GERD) | publisher = Cedars-Sinai | url = http://www.csmc.edu/pf_5543.html | accessdate = 2006-08-14 }}</ref>
 
ในผู้ที่บริโภคคาเฟอีนกาเฟอีนปริมาณมากๆในเวลาเดียว (มากกว่า 400 มิลลิกรัม) อาจทำให้[[ระบบประสาทส่วนกลาง]]ถูกกระตุ้นมากเกินไป ภาวะนี้เรียกว่าภาวะพิษคาเฟอีนกาเฟอีน (caffeine intoxication) ซึ่งจะทำให้เกิดอาการกระสับกระส่าย นอนไม่หลับ ความคิดและการพูดสับสน หน้าแดง ปัสสาวะมากผิดปกติ ปวดท้อง หัวใจเต้นแรง ในกรณีที่ได้รับในปริมาณสูงมาก (150-200 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักร่างกาย 1 กิโลกรัม) อาจทำให้ถึงแก่ชีวิตได้ <ref> {{cite journal | last = Mrvos | first = RM | coauthors = Reilly PE, Dean BS, Krenzelok EP | title = Massive caffeine ingestion resulting in death | journal = Vet Hum Toxicol | volume = 31 | issue = 6 | pages = 571-2 | date = Dec 1989 | id = PMID 2617841 }}</ref>การรักษาผู้ที่เกิดภาวะพิษคาเฟอีนกาเฟอีนโดยทั่วไปจะเป็นการรักษาตามอาการที่เกิด แต่หากผู้ป่วยมีปริมาณคาเฟอีนกาเฟอีนในเลือดสูงมาก อาจต้องได้รับ[[การล้างท้อง]]หรือ[[ฟอกเลือด]]
 
<!--ส่วนนี้ไม่เป็นสารานุกรม ควรเรียบเรียงใหม่
ปริมาณคาเฟอีนกาเฟอีนเท่าไหร่จึงจะปลอดภัย
 
สภาพร่างกายของแต่ละบุคคลมี ความไวต่อปริมาณคาเฟอีนกาเฟอีนแตกต่างกัน การดื่มกาแฟ 1 ถ้วยเท่านั้นอาจทำให้คนที่ไวต่อคาเฟอีนกาเฟอีนมีอาการใจสั่น นอนไม่หลับ แต่ไม่มีผลกับอีกคนหนึ่งที่มีความทนทานมากกว่า
 
อย่างไรก็ตาม องค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (FDA) ได้กำหนดปริมาณคาเฟอีนกาเฟอีนที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพไว้คือ ไม่เกิน 300 มิลลิกรัมต่อวัน หรือเทียบได้กับการดื่มกาแฟไม่เกิน 3 ถ้วยต่อวันนั่นเอง
 
แล้วจะดื่มกาแฟอย่างไรให้เกิดประโยชน์มากที่สุด และเกิดผลเสียน้อยที่สุด
บรรทัด 91:
2. หากมีอาการนอนหลับยาก ควรหลีกเลี่ยงการดื่มกาแฟในช่วงบ่ายหรือช่วงหัวค่ำ
 
3. ไม่ควรดื่มกาแฟขณะท้องว่าง เนื่องจากคาเฟอีนกาเฟอีนจะเร่งการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร
 
4. ไม่ควรดื่มกาแฟเพื่อหักโหมทำงาน และอดนอนติดต่อกันหลายๆ คืน แม้ว่าคาเฟอีนกาเฟอีนจะช่วยให้ร่างกายตื่นตัวก็จริง แต่สมองต้องการเวลาพักผ่นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรับรู้
 
5. หากคุณเป็นผู้ที่ดื่มกาแฟเป็นประจำ ควรทานอาหารที่เป็นแหล่งของแคลเซี่ยมเพิ่มเติม เช่น นม โยเกิร์ต ปลาเล็กปลาน้อย คะน้า บร็อกโคลี่ เป็นต้น เพื่อทดแทนแคลเซี่ยมที่สูญเสียไปกับปัสสาวะ และลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคกระดูกพรุน หรืออาจปรับเปลี่ยนโดยการชงกาแฟใส่นมแทนครีมเทียม เป็นต้น
บรรทัด 99:
6. ควรทานผักผลไม้อย่างเพียงพอทุกวัน เนื่องจากในกระบวนการคั่วเมล็ดกาแฟ จะมีอนุมูลอิสระเกิดขึ้น วิตามินซี อี และเบต้าแคโรทีนในผักผลไม้ เช่น มะเขือเทศ แครอต ผักใบเขียว ฝรั่ง ส้มเขียนหวาน เป็นต้น จะช่วยกำจัดอนุมูลอิสระในร่างกายได้
 
7. ดื่มน้ำสะอาดมากๆ เพื่อชดเชยการสูญเสียน้ำจากฤทธิ์ในการขับปัสสาวะของคาเฟอีนกาเฟอีน และนอกจากนี้ยังช่วยป้องกันคราบกาแฟที่เป็นสาเหตุทำให้ฟันเหลืองอีกด้วย-->
 
== อ้างอิง ==