ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอพิเนฟรีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 52:
'''อีพิเนฟริน''' ({{lang-en|epinephrine}}) หรือ '''อะดรีนาลีน''' ({{lang-en|adrenaline}}) หรือศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถานว่า '''ฮอร์โมนเนื้อในต่อมหมวกไต''' เป็น[[ฮอร์โมน]]และ[[สารสื่อประสาท]]ชนิดหนึ่ง<ref>{{cite pmid|6278965}}</ref> อีพิเนฟรินและนอร์อีพิเนฟรินเป็นฮอร์โมนต่างชนิดแต่คล้ายกัน ซึ่งทั้งคู่หลั่งออกมาจากส่วนในของ[[ต่อมหมวกไต]] นอกจากนี้ ทั้งสองยังผลิตที่ปลายเส้นใยประสาท[[ซิมพาเทติก]] โดยทำหน้าที่เป็นตัวกลางเคมีสำหรับถ่ายทอดพลักผลักดันประสาทไปยังอวัยวะปฏิบัติงาน (effector organ)<ref>epinephrine and norepinephrine. (2009). Encyclopædia Britannica. Encyclopædia Britannica 2009 Deluxe Edition. Chicago: Encyclopædia Britannica.</ref> การสืบค้นทาง[[เภสัชวิทยา]]ของอีพิเนฟรินมีส่วนสำคัญทำให้เกิดความเข้าใจ[[ระบบประสาทอิสระ]]และหน้าที่ของระบบซิมพาเทติก อีพิเนฟรินยังเป็นยาที่มีประโยชน์สำหรับข้อบ่งใช้ฉุกเฉินหลายประการ แม้มีฤทธิ์ไม่จำเพาะต่อตัวรับอะดรีเนอจิก (adrenergic receptor) และมีการพัฒนายาจำเพาะหลายชนิดซึ่งออกฤทธิ์ต่อแบบชนิดย่อยของตัวรับอะดรีเนอจิกในเวลาต่อมา ในสำนวนพูดทั่วไป คำว่า "อะดรีนาลีน" ใช้หมายความถึง การปลุกฤทธิ์ระบบซิมพาเทติกซึ่งสัมพันธ์กับพลังงานและการเร้า[[fight-or-flight response|การสนองสู้หรือหนี]]<ref>{{cite journal|last=Editorial|title=Stress, hypertension, and the heart: the adrenaline trilogy|journal=Lancet|year=1982|volume=2|pages=1440–1441}}</ref><ref>{{cite journal|last=Pearce.|first=JMS|title=Links between nerves and glands: the story of adrenaline|journal=Advances in Clinical Neuroscience & Rehabilitation|year=2009|volume=9|pages=22–28.}}</ref> อิทธิพลของอะดรีนาลีนจำกัดอยู่ในผลทาง[[เมแทบอลิซึม]]และ[[การขยายหลอดลม]]ต่ออวัยวะซึ่งไม่มีประสาทซิมพาเทติกไปเลี้ยงโดยตรง<ref>{{cite journal|last=Celander|first=O|title=Celander O. The range of control exercised by the "sympathico-adrenal system"|journal=Acta Physiol Scand|year=1954|volume=32|pages=uppl 16.}}</ref><ref>{{cite journal|last=Warren|first=JB|title=The adrenal medulla and the airway|journal=Br J Dis Chest|year=1986|volume=80|pages=1–6|doi=10.1016/0007-0971(86)90002-1|pmid=3004549|issue=1}}</ref>
 
ในทางเคมี อีพิเนฟรินเป็น[[monoamine|โมโนเอมีน]]กลุ่มหนึ่ง เรียก [[catecholamine|แคทีโคลามีน]] (catecholamine) ผลิตในบาง[[เซลล์ประสาท]]ของ[[ระบบประสาทส่วนกลาง]] และใน[[เซลล์โครมัฟฟิน]] (chromaffin cell) ของ[[ต่อมหมวกไตส่วนใน]]จาก[[กรดอะมิโน]] [[ฟีนิลอะลานีน]]และ[[ไทโรซีน]]<ref name="HalbachDermietzel2006">{{cite book|author1=von Bohlen und Halbach, O|author2=Dermietzel, R|title=Neurotransmitters and neuromodulators: handbook of receptors and biological effects|url=http://books.google.com/books?id=AfmA_KJMjJAC&pg=PA125|year=2006|publisher=Wiley-VCH|isbn=978-3-527-31307-5|page=125}}</ref>
 
== อ้างอิง ==