ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอพิเนฟรีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{drugbox | Watchedfields = changed
'''อีพิเนฟริน''' ({{lang-en|epinephrine}}) หรือ '''อะดรีนาลีน''' ({{lang-en|adrenaline}}) หรือศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถานว่า '''ฮอร์โมนเนื้อในต่อมหมวกไต''' เป็น[[ฮอร์โมน]]และ[[สารสื่อประสาท]] อีพิเนฟรินและนอร์อีพิเนฟรินเป็นฮอร์โมนต่างชนิดแต่คล้ายกัน ซึ่งทั้งคู่หลั่งออกมาจากส่วนในของ[[ต่อมหมวกไต]] นอกจากนี้ ทั้งสองยังผลิตที่ปลายเส้นใยประสาท[[ซิมพาเทติก]] โดยทำหน้าที่เป็นตัวกลางเคมีสำหรับถ่ายทอดพลักผลักดันประสาทไปยังอวัยวะปฏิบัติงาน (effector organ) การสืบค้นทาง[[เภสัชวิทยา]]ของอีพิเนฟรินมีส่วนสำคัญทำให้เกิดความเข้าใจ[[ระบบประสาทอิสระ]]และหน้าที่ของระบบซิมพาเทติก อีพิเนฟรินยังเป็นยาที่มีประโยชน์สำหรับข้อบ่งใช้ฉุกเฉินหลายประการ แม้มีฤทธิ์ไม่จำเพาะต่อตัวรับอะดรีเนอจิก (adrenergic receptor) และมีการพัฒนายาจำเพาะหลายชนิดซึ่งออกฤทธิ์ต่อแบบชนิดย่อยของตัวรับอะดรีเนอจิกในเวลาต่อมา ในสำนวนพูดทั่วไป คำว่า "อะดรีนาลีน" ใช้หมายความถึง การปลุกฤทธิ์ระบบซิมพาเทติกซึ่งสัมพันธ์กับพลังงานและการเร้า[[fight-or-flight response|การสนองสู้หรือหนี]] อิทธิพลของอะดรีนาลีนจำกัดอยู่ในผลทาง[[เมแทบอลิซึม]]และ[[การขยายหลอดลม]]ต่ออวัยวะซึ่งไม่มีประสาทซิมพาเทติกไปเลี้ยงโดยตรง
| verifiedrevid = 464189734
| IUPAC_name = (''R'')-4-(1-Hydroxy-2-(methylamino)ethyl)benzene-1,2-diol
| image = Epinephrine structure.svg
| width = 180px
|
| pregnancy_US = C
| legal_AU = S4
| legal_UK = POM
| legal_US = OTC
| routes_of_administration = [[intravenous|IV]], [[intramuscular|IM]], [[endotracheal tube|คาท่อลม]], [[Intracardiac injection|IC]], [[Nasal administration|จมูก]] [[Eye drop|ตา]]
 
<!--Pharmacokinetic data-->
ในทางเคมี อีพิเนฟรินเป็น[[monoamine|โมโนเอมีน]]กลุ่มหนึ่ง เรียก [[catecholamine|แคทีโคลามีน]] (catecholamine) ผลิตในบาง[[เซลล์ประสาท]]ของ[[ระบบประสาทส่วนกลาง]] และใน[[เซลล์โครมัฟฟิน]]ของ[[ต่อมหมวกไตส่วนใน]]จาก[[กรดอะมิโน]] [[ฟีนิลอะลานีน]]และ[[ไทโรซีน]]
| bioavailability =
| metabolism = [[synapse|adrenergic synapse]] ([[Monoamine oxidase|MAO]] และ [[Catechol-O-methyl transferase|COMT]])
| elimination_half-life = 2 นาที
| excretion = ปัสสาวะ
 
<!--Identifiers-->
| CASNo_Ref = {{cascite|correct|CAS}}
| CAS_number_Ref = {{cascite|correct|??}}
| CAS_number = 51-43-4
| ATC_prefix = A01
| ATC_suffix = AD01
| ATC_supplemental = {{ATC|B02|BC09}} {{ATC|C01|CA24}} {{ATC|R01|AA14}} {{ATC|R03|AA01}} {{ATC|S01|EA01}}
| ChEBI_Ref = {{ebicite|correct|EBI}}
| ChEBI = 28918
| PubChem = 5816
| IUPHAR_ligand = 479
| DrugBank_Ref = {{drugbankcite|correct|drugbank}}
| DrugBank = DB00668
| ChemSpiderID_Ref = {{chemspidercite|correct|chemspider}}
| ChemSpiderID = 5611
| UNII_Ref = {{fdacite|correct|FDA}}
| UNII = YKH834O4BH
| KEGG_Ref = {{keggcite|correct|kegg}}
| KEGG = D00095
| ChEMBL_Ref = {{ebicite|correct|EBI}}
| ChEMBL = 679
| PDB_ligand = ALE
 
<!--Chemical data-->
| C=9 | H=13 | N=1 | O=3
| molecular_weight = 183.204 g/mol
| smiles = Oc1ccc(cc1O)[C@@H](O)CNC
| InChI = 1/C9H13NO3/c1-10-5-9(13)6-2-3-7(11)8(12)4-6/h2-4,9-13H,5H2,1H3/t9-/m0/s1
| StdInChI_Ref = {{stdinchicite|correct|chemspider}}
| StdInChI = 1S/C9H13NO3/c1-10-5-9(13)6-2-3-7(11)8(12)4-6/h2-4,9-13H,5H2,1H3/t9-/m0/s1
| StdInChIKey_Ref = {{stdinchicite|correct|chemspider}}
| StdInChIKey = UCTWMZQNUQWSLP-VIFPVBQESA-N
}}
'''อีพิเนฟริน''' ({{lang-en|epinephrine}}) หรือ '''อะดรีนาลีน''' ({{lang-en|adrenaline}}) หรือศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถานว่า '''ฮอร์โมนเนื้อในต่อมหมวกไต''' เป็น[[ฮอร์โมน]]และ[[สารสื่อประสาท]]ชนิดหนึ่ง<ref>{{cite pmid|6278965}}</ref> อีพิเนฟรินและนอร์อีพิเนฟรินเป็นฮอร์โมนต่างชนิดแต่คล้ายกัน ซึ่งทั้งคู่หลั่งออกมาจากส่วนในของ[[ต่อมหมวกไต]] นอกจากนี้ ทั้งสองยังผลิตที่ปลายเส้นใยประสาท[[ซิมพาเทติก]] โดยทำหน้าที่เป็นตัวกลางเคมีสำหรับถ่ายทอดพลักผลักดันประสาทไปยังอวัยวะปฏิบัติงาน (effector organ)<ref>epinephrine and norepinephrine. (2009). Encyclopædia Britannica. Encyclopædia Britannica 2009 Deluxe Edition. Chicago: Encyclopædia Britannica.</ref> การสืบค้นทาง[[เภสัชวิทยา]]ของอีพิเนฟรินมีส่วนสำคัญทำให้เกิดความเข้าใจ[[ระบบประสาทอิสระ]]และหน้าที่ของระบบซิมพาเทติก อีพิเนฟรินยังเป็นยาที่มีประโยชน์สำหรับข้อบ่งใช้ฉุกเฉินหลายประการ แม้มีฤทธิ์ไม่จำเพาะต่อตัวรับอะดรีเนอจิก (adrenergic receptor) และมีการพัฒนายาจำเพาะหลายชนิดซึ่งออกฤทธิ์ต่อแบบชนิดย่อยของตัวรับอะดรีเนอจิกในเวลาต่อมา ในสำนวนพูดทั่วไป คำว่า "อะดรีนาลีน" ใช้หมายความถึง การปลุกฤทธิ์ระบบซิมพาเทติกซึ่งสัมพันธ์กับพลังงานและการเร้า[[fight-or-flight response|การสนองสู้หรือหนี]]<ref>{{cite journal|last=Editorial|title=Stress, hypertension, and the heart: the adrenaline trilogy|journal=Lancet|year=1982|volume=2|pages=1440–1441}}</ref><ref>{{cite journal|last=Pearce.|first=JMS|title=Links between nerves and glands: the story of adrenaline|journal=Advances in Clinical Neuroscience & Rehabilitation|year=2009|volume=9|pages=22–28.}}</ref> อิทธิพลของอะดรีนาลีนจำกัดอยู่ในผลทาง[[เมแทบอลิซึม]]และ[[การขยายหลอดลม]]ต่ออวัยวะซึ่งไม่มีประสาทซิมพาเทติกไปเลี้ยงโดยตรง<ref>{{cite journal|last=Celander|first=O|title=Celander O. The range of control exercised by the "sympathico-adrenal system"|journal=Acta Physiol Scand|year=1954|volume=32|pages=uppl 16.}}</ref><ref>{{cite journal|last=Warren|first=JB|title=The adrenal medulla and the airway|journal=Br J Dis Chest|year=1986|volume=80|pages=1–6|doi=10.1016/0007-0971(86)90002-1|pmid=3004549|issue=1}}</ref>
 
ในทางเคมี อีพิเนฟรินเป็น[[monoamine|โมโนเอมีน]]กลุ่มหนึ่ง เรียก [[catecholamine|แคทีโคลามีน]] (catecholamine) ผลิตในบาง[[เซลล์ประสาท]]ของ[[ระบบประสาทส่วนกลาง]] และใน[[เซลล์โครมัฟฟิน]]ของ[[ต่อมหมวกไตส่วนใน]]จาก[[กรดอะมิโน]] [[ฟีนิลอะลานีน]]และ[[ไทโรซีน]]<ref name="HalbachDermietzel2006">{{cite book|author1=von Bohlen und Halbach, O|author2=Dermietzel, R|title=Neurotransmitters and neuromodulators: handbook of receptors and biological effects|url=http://books.google.com/books?id=AfmA_KJMjJAC&pg=PA125|year=2006|publisher=Wiley-VCH|isbn=978-3-527-31307-5|page=125}}</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:ฮอร์โมน]]