ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีอวกาศมีร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
KuroiSchwert (คุย | ส่วนร่วม)
(เพิ่ม) แม่แบบ:การบินอวกาศ
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 40:
}}
 
'''สถานีอวกาศเมียร์''' ({{lang-ru|Мир}}; หมายถึง ''โลก'' และ ''สันติภาพ'' ใน[[ภาษารัสเซีย]]) เป็น[[สถานีอวกาศ]]ที่ประสบความสำเร็จสูงสุดของ[[รัสเซีย]] และนับเป็นสถานีวิจัยถาวรระยะยาวแห่งแรกใน[[อวกาศ]]ของมนุษยชาติ [[นักบินอวกาศ]]จากหลายชาติได้ใช้งานสถานีอวกาศแห่งนี้ผ่านความร่วมมือระหว่างประเทศ สถานีประกอบด้วยมอดูลต่าง ๆ หลายมอดูล แต่ละส่วนถูกทะยอยนำขึ้นสู่อวกาศ เริ่มจากส่วนแรกในวันที่ [[19 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2529]] จนถึงมอดูลสุดท้ายในปี [[พ.ศ. 2539]] สถานีอวกาศเมียร์หมดอายุการใช้งานและถูกเผาทำลายในบรรยากาศโลกเมื่อวันที่ [[23 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2544]] จนกระทั่ง รัสเชีย(สหภาพโซเวียตเดิม)สามารถสร้างสถานีอวกาศแห่งใหม่ที่มีความพร้อมมากกว่าเก่าสถานีอวกาศแห่งนั้นคือสถานีอวกาศเมียร์ ด้วยประสบการณ์ในการพัฒนาสถานีอวกาศ Salyut Station ในช่วงปี 1971 ถึง 1982 ทำให้สถานีอวกาศแห่งใหม่ของรัสเซียมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เมียร์เป็นสถานีอวกาศ ที่มีส่วนประกอบหลัก 7 ส่วนโดยถูกปล่อยขึ้นวงโคจรชิ้นแรกใน เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1986 หลังจากนั้นจึงทยอยชิ้นส่วนอื่นๆตามไปจนกระทั่งครบสมบูรณ์ ในปี 1996 โคจรเหนือโลกประมาณ 248-261 กิโลเมตรด้วยความเร็ว 28,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หรือประมาณ 16 รอบต่อ 1 วัน แต่กระนั้นเมียร์ก็ยังคงมีจุดบกพร่องอีกหลายจุด มีการเกิดอุบัติที่เหตุที่ไม่คาดฝันกับสถานีอวกาศแห่งนี้อยู่เสมอ สถานีอวกาศเมียร์ ของรัสเชีย อันจัดได้ว่าเป็นสถานีอวกาศที่ทำการวิจัยนอกโลกที่ใช้งานมาอย่างยาวนาน และชาวโลกได้ใช้ประโยชน์จากสถานีอวกาศแห่งนี้หลายๆด้าน ไม่ใช่เฉพาะแต่ประเทศรัสเชียแต่หลายประเทศได้ใช้ประโยชน์จากมัน จนกระทั่งหมดอายุใช้งานลง 23 มีนาคม พ.ศ. 2544
 
'''สถานีอวกาศเมียร์''' ({{lang-ru|Мир}}; หมายถึง ''โลก'' และ ''สันติภาพ'' ใน[[ภาษารัสเซีย]]) เป็น[[สถานีอวกาศ]]ที่ประสบความสำเร็จสูงสุดของ[[รัสเซีย]] และนับเป็นสถานีวิจัยถาวรระยะยาวแห่งแรกใน[[อวกาศ]]ของมนุษยชาติ [[นักบินอวกาศ]]จากหลายชาติได้ใช้งานสถานีอวกาศแห่งนี้ผ่านความร่วมมือระหว่างประเทศ สถานีประกอบด้วยมอดูลต่าง ๆ หลายมอดูล แต่ละส่วนถูกทะยอยนำขึ้นสู่อวกาศ เริ่มจากส่วนแรกในวันที่ [[19 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2529]] จนถึงมอดูลสุดท้ายในปี [[พ.ศ. 2539]] สถานีอวกาศเมียร์หมดอายุการใช้งานและถูกเผาทำลายในบรรยากาศโลกเมื่อวันที่ [[23 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2544]] จนกระทั่ง รัสเชีย(สหภาพโซเวียตเดิม)สามารถสร้างสถานีอวกาศแห่งใหม่ที่มีความพร้อมมากกว่าเก่าสถานีอวกาศแห่งนั้นคือสถานีอวกาศเมียร์ ด้วยประสบการณ์ในการพัฒนาสถานีอวกาศ Salyut Station ในช่วงปี 1971 ถึง 1982 ทำให้สถานีอวกาศแห่งใหม่ของรัสเซียมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เมียร์เป็นสถานีอวกาศ ที่มีส่วนประกอบหลัก 7 ส่วนโดยถูกปล่อยขึ้นวงโคจรชิ้นแรกใน เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1986 หลังจากนั้นจึงทยอยชิ้นส่วนอื่นๆตามไปจนกระทั่งครบสมบูรณ์ ในปี 1996 โคจรเหนือโลกประมาณ 248-261 กิโลเมตรด้วยความเร็ว 28,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หรือประมาณ 16 รอบต่อ 1 วัน แต่กระนั้นเมียร์ก็ยังคงมีจุดบกพร่องอีกหลายจุด มีการเกิดอุบัติที่เหตุที่ไม่คาดฝันกับสถานีอวกาศแห่งนี้อยู่เสมอ สถานีอวกาศเมียร์ ของรัสเชีย อันจัดได้ว่าเป็นสถานีอวกาศที่ทำการวิจัยนอกโลกที่ใช้งานมาอย่างยาวนาน และชาวโลกได้ใช้ประโยชน์จากสถานีอวกาศแห่งนี้หลายๆด้าน ไม่ใช่เฉพาะแต่ประเทศรัสเชียแต่หลายประเทศได้ใช้ประโยชน์จากมัน จนกระทั่งหมดอายุใช้งานลง 23 มีนาคม พ.ศ. 2544
 
== แหล่งข้อมูลอื่นๆ ==