ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วลาดที่ 3 นักเสียบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 23:
 
== ประวัติ ==
วลาด เซเปช มีชื่อพระนามอื่น คือ วลาดที่ 3 จอมเสียบ หรือที่รู้จักอีกชื่อหนึ่งคือ วลาดิสลาฟ ดรากูลา เป็นลูกชายพระโอรสของ '''วลาด ที่ 2 ดรากูล''' (ซึ่งคำว่าดรากูล ''DRACUL'' มาจากคำว่าดราก้อน ''DRAGON'') '''ดรากูล''' พระราชบิดานั้นได้รับ ตรากล้าหาญ '''''Order of the Dragon''''' จาก [[สมเด็จพระจักรพรรดิซิจิสมุนด์แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|พระจักรพรรดิซิจิสมุนด์]]
 
ในวัยเยาว์ พระองค์และพระอนุชา '''ราดู ผู้รูปงาม''' (Radu Cel Frumos) ถูกส่งไปเป็นตัวประกันภายใต้จักรวรรดิออตโตมานออตโตมันในฐานะประเทศราช พระบิดาของพระองค์ '''วลาดที่ 2''' และพระเชษฐา '''เมียร์ชาที่ 2''' (Mircea II) ถูกพวกขุนนางภายใต้สังกัดฮังการีสังหารปลงพระชนม์ในปี [[ค.ศ. 1447]] เพื่อเป็นการกำจัดอิทธิพลของฮังการีในวาลาเคีย จักรวรรดิออตโตมานออตโตมันจึงส่งกองทัพมายึดวาลาเคีย และตั้ง วลาดที่ 3 ในวัย 17 ปีพรรษา เป็นเจ้าชายผู้ครองรัฐภายใต้จักรวรรดิออตโตมานออตโตมัน แต่วลาดที่ 3 ก็ต้องสูญเสียเสียบัลลังก์ เมื่อ '''ฮุนยาดี ยานอช''' (Hunyadi János) ผู้สำเร็จราชการของฮังการี นำทัพเข้าพิชิตวาลาเคีย วลาดจึงต้องเสด็จหนีไปประทับอยู่ที่มอลดาเวียกับ '''บ็อกดานที่ 2''' (Bogdan II) เจ้าชายแห่งมอลดาเวีย ซึ่งมีศักดิ์เป็นลุง ภายหลัง บ็อกดาน บ็อกดานถูกลอบสังหาร จึงเสด็จหนีไปอยู่ฮังการี ซึ่งฮุนยาดีประทับใจในความรู้ความสามารถของวลาด และความเกลียดชังของวลาดที่มีต่อสุลต่านพระองค์ใหม่ [[สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2]] ฮุนยาดีจึงตั้งเป็นที่ปรึกษา หลังจากฮุนยาดีถึงแก่อสัญกรรม วลาดได้นำกำลังเข้ายึดวาลาเคียจาก '''วลาดิสลาฟที่ 2''' (Vladislav II) และขึ้นครองบัลลังก์
 
[[ค.ศ. 1459]] สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 ได้ส่งทูตมาเรียกร้องบรรณาการจากวาลาเคีย วลาดปฏิเสธที่จะจ่ายบรรณาการ และสังหารทูตโดยการตอกตะปูกับผ้าโพกหัวให้ติดกับศีรษะ สุลต่านทรงพิโรธ และส่งทหารเข้าโจมตีวาลาเคียในปี [[ค.ศ. 1462]] ซึ่งวลาดได้รบแบบกองโจรและประสบความสำเร็จหลายครั้ง แต่ภายหลังวลาดต้องแพ้เพราะมีขุนนางไส้ศึก ออตโตมานเข้าพิชิตวาลาเคีย และตั้ง '''ราดู ผู้รูปงาม''' (Radu Cel Frumos) พระอนุชาของวลาด ซึ่งเป็น ชาวมุสลิมและสวามิภักดิ์ออตโตมานออตโตมัน ขึ้นบัลลังก์ วลาดได้เสด็จหนีไปขอความช่วยเหลือจากพันธมิตรของพระองค์คือฮังการี แต่กลับถูกจับกุมตัวโดย '''พระเจ้ามะติอัช''' (Corvin Mátyás ภาษาอังกฤษเรียก Matthias Corvinus) ซึ่งเป็นบุตรชายพระโอรสของ ฮุนยาดี ยานอช และเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฮังการี เนื่องจากพระเจ้ามะติอัชทรงไม่ต้องการประสงค์จะเปิดศึกกับออตโตมานออตโตมัน ทั้งนี้เนื่องจากเพราะพระองค์ได้รับเงินสนับสนุนจากพระสันตะปาปาให้ช่วยวลาดทำสงครามกับออตโตมานออตโตมัน แต่พระองค์ทรงใช้ไปกับการอื่นแล้ว จึงไม่ต้องการจะประสงค์ทำศึกกับออตโตมานอีก พระองค์จึงได้ทำจดหมายปลอมแปลงว่าวลาดฝักใฝ่สวามิภักดิ์ต่อออตโตมานออตโตมันโดยวางแผนทรยศฮังการีและยังเป็นผู้นำที่โหดเหี้ยมอีกด้วย ทั้งนี้เพื่อแสดงให้เห็นว่าเหตุใดสาเหตุที่พระองค์จึงไม่ช่วยวลาดในการทำสงคราม และยังแสดงถึงความชอบธรรมในการจับกุมตัววลาดอีกด้วย วลาดด้วย
 
วลาดถูกปล่อยตัวในปี [[ค.ศ. 1474]] และในปี [[ค.ศ. 1476]] ราชอาณาจักรฮังการีได้ตัดสินใจที่จะสนับสนุนวลาดให้กลับไปยึดวาลาเคียอีกครั้ง วลาดสามารถยึดบัลลังก์จาก '''บาซารับ ลาโยตู''' (Basarab Laiotă) ได้ และปกครองบัลลังก์วาลาเคียเป็นสมัยที่ 3 ซึ่งพระองค์ปกครองได้ไม่นาน ก็ได้ถูกสังหารลงในการรบกับออตโตมาน ออตโตมัน
 
เนื่องจาก '''วลาด เซเปช''' เป็นนักรบที่ชอบวิธี[[การทรมาน]][[เชลย]]ที่จับมาได้ด้วยวิธีที่โหดเหี้ยม โดยจะชอบการทรมานด้วยวิธีการ เอาไม้แหลมมาเสียบทะลุตัวเชลยที่จับมาได้ โดยจะเสียบประจาน ไว้ตามทุ่งหญ้ากว้าง ด้วยวิธีเสียบตั้งแต่ทวารหนัก จนถึงปาก จนเชลยเสียชีวิตในที่สุด ทำให้ '''วลาด เซเปช''' กลายเป็นแรงบันดาลใจของ [[บราม สโตกเกอร์]] ('''''Bram Stoker''''') ในการเขียนนวนิยายเรื่อง [[แดรกคูลา|แดร็กคิวล่า]] '''Dracula''' ('''''Drăculea''''') หรือ '''เคาท์แดร็กคิวล่า''' '''Count Dracula'''
 
== อ้างอิง ==