ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วินาที"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''วินาที''' เป็น[[หน่วยฐานเอสไอ|หน่วยฐาน]]ของ[[เวลา]]ใน[[ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ]] (เอสไอ)<ref name="BIPM21">
'''วินาที''' เป็นหน่วยฐานของ[[เวลา]]ใน[[ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ]] (เอสไอ) และยังเป็นหน่วยเวลาในระบบการวัดอื่น เท่ากับ 1 ส่วน 60 ของ[[นาที]] ระหว่าง ค.ศ. 1000 เมื่ออัลบูรินี (al-Bīrūnī) ใช้วินาที ถึง ค.ศ. 1960 วินาทีนิยามว่าเป็น 1/86,400 ของวันสุริยคติเฉลี่ย (mean solar day) ซึ่งยังเป็นนิยามที่ใช้ในบริบททางดาราศาสตร์และกฎหมายอยู่บ้าง ระหว่าง ค.ศ. 1960 ถึง 1967 วินาทีนิยามเป็นเวลาของวงโคจรโลกรอบดวงอาทิตย์ใน ค.ศ. 1900 แต่ปัจจุบันนิยามอย่างแม่นยำขึ้นในแง่อะตอม วินาทีอาจวัดโดยใช้นาฬิกากล ไฟฟ้าหรืออะตอม
{{cite web
|title=Unit of time (second)
|work=SI Brochure
|url=http://www.bipm.org/en/si/si_brochure/chapter2/2-1/second.html
|publisher=[[BIPM]]
|accessdate=2013-12-22}}
'''วินาที'''</ref> และยังเป็นหน่วยฐานของ[[เวลา]]ใน[[ระบบหน่วยการวัดระหว่างประเทศ]] (เอสไอ) และยังเป็นหน่วยเวลาในระบบการวัดอื่น เท่ากับ 1 ส่วน 60 ของ[[นาที]] ระหว่าง ค.ศ. 1000 เมื่ออัลบูรินี (al-Bīrūnī) ใช้วินาที ถึง ค.ศ. 1960 วินาทีนิยามว่าเป็น 1/86,400 ของวันสุริยคติเฉลี่ย (mean solar day) ซึ่งยังเป็นนิยามที่ใช้ในบริบททางดาราศาสตร์และกฎหมายอยู่บ้าง<ref>[http://physics.nist.gov/cuu/Units/second.html International System of Units from NIST] accessed 25 March 2012.</ref> ระหว่าง ค.ศ. 1960 ถึง 1967 วินาทีนิยามเป็นเวลาในแง่คาบการโคจรของวงโคจรโลกรอบดวงอาทิตย์ใน ค.ศ. 1900<ref แต่ปัจจุบันนิยามอย่างแม่นยำขึ้นในแง่อะตอม วินาทีอาจวัดโดยใช้นาฬิกากล ไฟฟ้าหรืออะตอมname="USNO">
{{cite web
| title=Leap Seconds
| publisher=Time Service Department, [[United States Naval Observatory]]
| url=http://tycho.usno.navy.mil/leapsec.html
| accessdate=2012-03-24}}
</ref> แต่ปัจจุบันนิยามอย่างแม่นยำขึ้นในแง่อะตอม วินาทีอาจวัดโดยใช้[[นาฬิกา]]กล ไฟฟ้าหรืออะตอม
 
การสังเกตทางดาราศาสตร์ในห้วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 เปิดเผยว่าวันวันสุริยคติเฉลี่ยค่อย ๆ ยาวขึ้นแต่วัดได้ และความยาวของปีสุริยคติก็ไม่สามารถพยากรณ์ได้ทั้งหมดเช่นกัน ฉะนั้นการเคลื่อนที่ดวงอาทิตย์–โลกจึงไม่ถูกพิจารณาว่าเป็นพื้นฐานนิยามที่เหมาะสมต่อไป เมื่อมีการคิดค้นนาฬิกาอะตอม การนิยามวินาทีโดยยึดคุณสมบัติหลักมูลแห่งธรรมชาติจึงเป็นไปได้ นับแต่ ค.ศ. 1967 นิยามวินาทีเป็น
{{quote|ช่วงเวลา {{val|9192631770}} คาบของการแผ่รังสีซึ่งสัมพันธ์กับการเปลี่ยนสถานะระหว่างสองระดับไฮเปอร์ไฟน์ (hyperfine level) ของ[[สถานะพื้น]]ของอะตอม[[ซีเซียม|ซีเซียม-133]]<br />(the duration of {{val|9192631770}} periods of the radiation corresponding to the transition between the two hyperfine levels of the ground state of the caesium 133 atom)<ref name="BIPM21"/>}}
 
ใน ค.ศ. 1997 [[คณะกรรมการชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ]]ยืนยันว่านิยามข้างต้น "หมายถึงอะตอมซีเซียมในสถานะพักที่อุณหภูมิ 0 [[อุณหภูมิเคลวิน|เคลวิน]]"<ref name="BIPM21"/>
 
วินาทียังเป็นหน่วยฐานของเวลาในระบบหน่วยวัดเซนติเมตร-กรัม-วินาที, เมตร-กิโลกรัม-วินาที, เมตร-ตัน-วินาที และฟุต-ปอนด์-วินาที
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[อันดับของขนาด (เวลา)]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{ระบบเอสไอ}}
{{วันเดือนปี}}
{{ระบบเอสไอ}}
{{โครง}}
 
[[หมวดหมู่:หน่วยเวลา]]
[[หมวดหมู่:หน่วยฐานเอสไอ]]
[[หมวดหมู่:หน่วยซีจีเอส]]
{{โครง}}
 
{{Link GA|ja}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/วินาที"