ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเตตุน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: เปลี่ยนจาก หมวดหมู่:ภาษาในประเทศติมอร์ตะวันออก ไปยัง หมวดหมู่:ภาษาในประเทศติมอร์-เ...
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
| nativename = Tetun, Lia-Tetun
| familycolor = Austronesian
| states = [[ประเทศติมอร์ตะวันออก-เลสเต]] [[ประเทศอินโดนีเซีย]]
| speakers = 800,000
| fam2 = [[ภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย]]
บรรทัด 13:
| fam7 = ติมอร์ศูนย์กลาง
| fam8 = ติมอร์ตะวันออก
| nation = [[ประเทศติมอร์ตะวันออก-เลสเต]]
| agency = National Institute of Linguistics
| iso2 = tet|iso3=tet}}
 
'''ภาษาเตตุม''' (หรือ'''เตตุน''') เป็นภาษาประจำชาติของ[[ประเทศติมอร์ตะวันออก-เลสเต]] เป็น[[ภาษากลุ่มออสโตรนีเชียน]] ที่มีคำจำนวนมากมาจาก[[ภาษาโปรตุเกส]] รวมถึง[[ภาษามาเลย์]]และ[[ภาษาอินโดนีเซีย]]
== ประวัติ ==
เตตุมเกิดเป็น[[ภาษาสำหรับการติดต่อ]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 หลังจากที่ได้กลายเป็น[[อาณานิคม]]ของ[[ประเทศโปรตุเกส]] ภาษาหลักของภาษานี้ เป็นภาษาที่ใช้ในเมืองหลวง''[[ดิลี]]'' เรียกว่า''เตตุน-ปราซา: Tetun-Prasa'' ส่วนรูปแบบพื้นเมืองที่ใช้พูดในชนบทเรียกว่า ''เตตุน-เตริก: Tetun-Terik''
 
ถึงแม้ว่า ภาษาโปรตุเกสเป็นภาษาราชการของ[[โปรตุเกสติมอร์]] ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้เรียกในสมัยนั้น เตตุน-ปราซา เป็นภาษา ''lingua franca'' ที่ใช้กันเป็นหลัก ซึ่งยื่มคำมาจากโปรตุเกสเป็นอย่างมาก เมื่อประเทศอินโดนีเซียบุกเข้ายึดครอง[[ติมอร์ตะวันออก]] เป็นจังหวัดที่ 27 ของสาธารณรัฐ ได้มีการห้ามใช้ภาษาโปรตุเกส อย่างไรก็ดี แทนที่[[ศาสนจักรนิกายคาทอลิก]] จะนำ[[ภาษาอินโดนีเซีย]] มาใช้ในพิธีสวดมนต์ ก็ได้นำภาษาเตตุมมาใช้แทน ทำให้เป็นจุดรวมของเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและชาติ
 
== ไวยากรณ์ ==
บรรทัด 45:
ภาษาเตตุมมีคำว่า"เรา" 2 คำแบบเดียวกับภาษามาเลย์ คือ ami (ไม่รวมผู้ฟัง) และ ita (รวมผู้ฟัง) เช่น ami-nia karreta = รถของเรา ita-nia rain = ประเทศของเรา
 
คำว่า nia แสดงถึงเหตุการณ์ที่ยังดำเนินอยู่ การแสดงความเป็นเจ้าของใช้คำว่า nian เช่น povu Timór Lorosa'e nian = ประชาชนของติมอร์ตะวันออก-เลสเต
 
คำกริยาสร้างโดยใช้คำอุปสรรค "ha-" หรือ "hak-" นำหน้านามหรือคุณศัพท์ เช่น