ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมู่โลหิต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 28:
|}
 
=== ระบบอาร์เอช ===
===Rh System===
ระบบอาร์เอช (Rh; "รีซัส") เป็นระบบหมู่โลหิตที่มีความสำคัญมากเป็นอันดับสองในการถ่ายเลือดมนุษย์ โดยปัจจุบันมี 50 แอนติเจน แอนติเจนอาร์เอชที่สำคัญที่สุด คือ แอนติเจนดี เพราะมีแนวโน้มกระตุ้นการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันมากที่สุดในบรรดา 5 แอนติเจนหลักของระบบอาร์เอช โดยทั่วไปผู้ที่ไม่มีแอนติเจนดี (ดีเนกาทีฟ หรืออาร์เอชลบ) จะไม่ผลิตแอนตีดีแอนติบอดีชนิด IgG หรือ IgM เพราะแอนตีดีแอนติบอดีปกติไม่ผลิตโดยการสัมผัสกับสารในสิ่งแวดล้อม ทว่า ผู้ที่มีหมู่โลหิตดีเนกาทีฟสามารถผลิตแอนตีดีแอนติบอดีชนิด IgG ได้หลังการสัมผัส ซึ่งอาจเป็นการถ่ายเลือดระหว่างทารกในครรภ์กับมารดา หรืออาจเป็นการถ่ายเลือดกับเม็ดเลือดแดงดีโพสิทีฟ<ref name="Talaro, Kathleen P. 2005 510–1">{{cite book|author=Talaro, Kathleen P.|title=Foundations in microbiology|publisher=McGraw-Hill|location=New York|year=2005|pages=510–1|isbn=0-07-111203-0 |edition=5th}}</ref> สามารถเกิดโรคอาร์เอชได้ในผู้ป่วยเหล่านี้<ref>{{cite journal|author=Moise KJ|title=Management of rhesus alloimmunization in pregnancy|journal=Obstetrics and Gynecology|volume=112|issue=1|pages=164–76|date=July 2008|pmid=18591322|doi=10.1097/AOG.0b013e31817d453c}}</ref> หมู่โลหิตอาร์เอชลบพบเป็นสัดส่วนน้อยกว่าในชาวเอเชีย (0.3%) เมื่อเทียบกับคนขาว (15%)<ref name="Rh group and its origin">{{cite web|url=http://hospital.kingnet.com.tw/activity/blood/html/a.html|title=Rh血型的由來|publisher=Hospital.kingnet.com.tw|accessdate=2010-08-01}}</ref> การมีหรือไม่มีแอนติเจนอาร์เอชแสดงด้วยเครื่องหมาย + หรือ − ตัวอย่างเช่น หมู่ A− คือ ไม่มีแอนติเจนอาร์เอชทุกชนิด
จะมีสารโปรตีนที่อยู่บนผิวของเม็ดเลือดแดง ซึ่งเรียกว่า แอนติเจน-ดี (Antigen-D) เป็นตัวบ่งบอกหมู่โลหิตระบบ Rh(D) แบ่งออกเป็น 2 หมู่คือ
# +ve หรือ Rh+ve หรือ อาร์เอชบวก (Rh+positive) คือ พวกที่มี Rh (Rhesus) Antigen-D บนเม็ดเลือดแดง พวกนี้จะพบได้มาก ซึ่งเกือบทั้งหมดของคนไทยเป็นพวกนี้
# -ve หรือ Rh-ve หรือ อาร์เอชลบ (Rh-negative) คือ พวกที่ไม่มี Rh (Rhesus) Antigen-D บนเม็ดเลือดแดง พวกนี้จะพบได้น้อยมาก คนไทยเราพบเลือดพวกนี้เพียง 0.03% เป็นพวกที่บางครั้งอาจถูกเรียกว่าเป็นผู้มีโลหิตหมู่พิเศษ ซึ่งจะพบได้มากขึ้นในชาวไทยซิกข์ (แต่ในคนกลุ่มนี้ แม้ว่าจะมีโอกาสตรวจพบ Rh-ve ได้มากกว่าคนไทยปกติ แต่โดยส่วนใหญ่ก็ยังคงเป็นพวก Rh+ve อยู่ดี)
 
=== หมู่โลหิตอื่น ===
ตัวอย่างการรายงานกลุ่มเลือด เช่น A+ve คือเลือดกรุ๊ป A Rh+ve ตามปกติ ส่วน AB-ve เป็นเลือดกรุ๊ป AB และเป็นหมู่เลือดพิเศษ Rh-ve ซึ่งหายากที่สุด โดยปกติแล้วโลหิตหมู่ AB ในคนไทยพบน้อยกว่า 5% ซึ่งถ้าเป็น AB-ve จะพบแค่ 1.5 คน ในหมื่นคนเท่านั้น
นอกจากระบบเอบีโอและอาร์เอช ยังมีการระบุระบบหมู่โลหิตอีก 32 หมู่<ref>{{cite web
 
|url= http://www.uvm.edu/~uvmpr/?Page=news&storyID=13259
มารดาและบุตรในครรภ์ หากกลุ่มเลือด Rh System ไม่ตรงกัน (มีโอกาสเกิดน้อยมากในคนไทย) มีโอกาสทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนได้ เช่น ภาวะตัวเหลืองในเด็กแรกเกิด ตับและม้ามโต หัวใจทำงานไม่ปกติ และถ้าตัวเหลืองมากๆ จะมีอาการระบบประสาท และสมองเสื่อม
|title=Blood Mystery Solved
 
|author=Joshua E. Brown
วิธีป้องกันที่ดีที่สุด และทำได้คือตรวจโลหิตก่อนแต่งงานหรือก่อนมีครรภ์และถ้าแม่เป็นหมู่โลหิต อาร์เอชลบ ลูกที่คลอดคนแรกมีหมู่โลหิตอาร์เอชบวก ต้องรีบฉีดยาป้องกันให้แม่ภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด
|date=22 February 2012
|publisher=University Of Vermont
|accessdate=11 June 2012}}</ref>
 
== ความสำคัญทางคลินิก ==