ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิเล็กทรอนิกส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
สแปม
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Arduino ftdi chip-1.jpg|thumb|อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บนแผ่น PCB]]
'''อิเล็กทรอนิกส์''' ({{lang-en|Electronics}}) เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับวงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เป็น active component เช่นหลอดสูญญากาศ, [[ทรานซิสเตอร์]], [[ไดโอด]] และ [[วงจรรวม|Integrated Circuit]] และ passive component เช่น [[ตัวนำไฟฟ้า]], [[ความต้านทาน|ตัวต้านทานไฟฟ้า]], [[ตัวเก็บประจุ]] และคอยล์ พฤติกรรมไม่เชิงเส้นของ active component และความสามารถในการควบคุมการไหลของอิเล็กตรอนทำให้สามารถขยายสัญญาณอ่อนๆให้แรงขึ้นเพื่อการสื่อสารทางภาพและเสียงเช่นโทรเลข, โทรศัพท์, วิทยุ, โทรทัศน์ เป็นต้น อิเล็กทรอนิกส์ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายในการสื่อสารข้อมูลโทรคมนาคม ความสามารถของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่เป็นสวิทช์ปิดเปิดวงจรถูกนำไปใช้ในวงจร [[ลอจิกเกต]] ซึ่งเป็นส่วนสำคัญหลักในระบบ[[คอมพิวเตอร์]] นอกจากนั้น วงจรอิเล็กทรอนิกส์ยังถูกนำไปใช้ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน ในการส่งพลังงานไฟฟ้าเป็นระยะทางไกลๆ การผลิตพลังงานทดแทน และอุตสาหกรรมต่างๆอีกมาก
 
ความรู้ด้านอิเล็กทรอนิกส์
บอร์ดของชาวอิเล็ก
บอร์ดของชาวอิเล็ก [http://www.thaielecclub.zz.mu www.thaielecclub.zz.mu]<br>
บอร์ดของชาวอิเล็ก [http://www.thaielecclub.zz.mu www.thaielecclub.zz.mu]<br>
บอร์ดของชาวอิเล็ก [http://www.thaielecclub.zz.mu www.thaielecclub.zz.mu]<br>
บอร์ดของชาวอิเล็ก [http://www.thaielecclub.zz.mu www.thaielecclub.zz.mu]<br>
บอร์ดของชาวอิเล็ก [http://www.thaielecclub.zz.mu www.thaielecclub.zz.mu]<br>
บอร์ดของชาวอิเล็ก [http://www.thaielecclub.zz.mu www.thaielecclub.zz.mu]<br>
 
 
อิเล็กทรอนิคส์แตกต่างจากวิทยาศาสตร์ไฟฟ้าและเทคโนโลยีเครื่องกลไฟฟ้า โดยจะเกี่ยวข้องกับการสร้าง, การกระจาย, การสวิทช์, การจัดเก็บและการแปลงพลังงานไฟฟ้าไปและมาจากพลังงานรูปแบบอื่น ๆ โดยใช้สายไฟ, [[มอเตอร์]], [[เครื่องกำเนิดไฟฟ้า]], [[แบตเตอรี่]], [[สวิตช์]], [[รีเลย์]], [[หม้อแปลงไฟฟ้า]] ตัวต้านทานและส่วนประกอบที่เป็นพาสซีพอื่นๆ ความแตกต่างนี้เริ่มราวปี 1906 เป็นผลจากการประดิษฐ์[[ไตรโอด]]โดยลี เดอ ฟอเรสท์ ซึ่งใช้ขยายสัญญาณวิทยุที่อ่อนๆได้ ทำให้เกิดการออกแบบและพัฒนาระบบการรับส่งสัญญาณเสียงและหลอดสูญญากาศ จึงเรียกสาขานี้ว่า "เทคโนโลยีวิทยุ" จนถึงปี 1950