ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิผสานจุดสี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: เปลี่ยนจาก หมวดหมู่:ศิลปะอิมเพรสชันนิสม์ ไปยัง หมวดหมู่:ศิลปะลัทธิประทับใจ
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=230px}}
[[ไฟล์:Seurat-La Parade detail.jpg|thumb|right|230px|รายละเอียดของภาพ "พาเหรดละครสัตว์”ละครสัตว์" (ค.ศ. 1889) โดย [[ชอร์ช ปิแยร์ฌอร์ฌ ปีแยร์-เซอราต์อรา]] แสดงให้เห็นจุดสีที่ตัดการในการผสานจุดสี]]
'''ลัทธิผสานจุดสี'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน]</ref> ({{lang-en|Pointillismpointillism}}) คือเทคนิคการเขียน[[จิตรกรรม]]ที่ใช้จุดสีเล็กๆ ต่างๆ สีที่ผสานกันขึ้นมาเป็นภาพด้วยตา นอกจากการใช้การ "ผสานจุดสี”สี" แล้วก็ยังมีงานกราฟิคกราฟิกที่เป็นภาพที่เกิดจากจุดที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง ที่มาของลัทธิผสานจุดสีมาจาก[[Figurative art|ศิลปะรูปลักษณ์]]<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน]</ref> (Figurativefigurative art) ของการสร้างงานจิตรกรรมที่ไม่ใช่การสร้าง[[Abstract art|ศิลปะนามธรรม]] (Abstractabstract art) ของศิลปะการแสดงออก
 
== การเขียน ==
เทคนิคที่ใช้ขึ้นอยู่กับความสามารถในการรับรู้ (perceptive ability) ของตาและความคิด (mind) ของผู้ชมในการผสานจุดสีให้เป็นกลุ่มสี ซึ่งเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับ[[ศิลปะวิภาคนิยม]] ซึ่งเป็นเทคนิคการเขียนอีกแนวหนึ่ง ลัทธิผสานจุดสีเป็นเทคนิคที่มีผู้ใช้อย่างจริงจังอยู่ไม่กี่คน แต่ที่เห็นได้ชัดคือในงานเขียนของ[[ชอร์ช ปิแยร์ฌอร์ฌ ปีแยร์-เซอราต์อรา]], [[Paul Signac|พอปอซินยัคซีญัก]] และ [[Henri-Edmond Cross|อองรี-เอ็ดมงด์ โครส]] คำว่า “Pointillism”"pointillism" คิดขึ้นโดย[[art critics|นักวิพากษ์ศิลป์]]ราวปลายคริสต์ทศวรรษ 1880 เพื่อเยาะเย้ยงานเขียนของศิลปินกลุ่มนี้ แต่ในปัจจุบันเป็นการใช้ที่ต่างทัศนะจากเดิมโดยปราศจากการเย้ยหยัน
 
การสร้างงานผสานจุดสีตรงกันข้ามกับวิธีการเขียนภาพที่ใช้กันทั่วไปที่จะผสมรงค์วัตถุที่ต้องการจะใช้บนจานผสมสี โดยใช้สีที่ผสมสำเร็จที่ขายกันในตลาด การผสานจุดสีคล้ายกับกระบวนการพิมพ์สี่สี (CMYK) ที่ใช้ในการพิมพ์สีของแท่นพิมพ์ขนาดใหญ่ที่ใช้สี Cyancyan (น้ำเงิน), Magentamagenta (แดง), Yellowyellow (เหลือง) และ Keykey (ดำ) โทรทัศน์หรือจอคอมพิวเตอร์ก็ใช้เทคนิคการผสานจุดสีในการสร้างภาพแต่ใช้สีแดง, เขียว และ น้ำเงิน (RGB) แทนที่
เทคนิคที่ใช้ขึ้นอยู่กับความสามารถในการรับรู้ (perceptive ability) ของตาและความคิด (mind) ของผู้ชมในการผสานจุดสีให้เป็นกลุ่มสี ซึ่งเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับ[[ศิลปะวิภาคนิยม]] ซึ่งเป็นเทคนิคการเขียนอีกแนวหนึ่ง ลัทธิผสานจุดสีเป็นเทคนิคที่มีผู้ใช้อย่างจริงจังอยู่ไม่กี่คน แต่ที่เห็นได้ชัดคือในงานเขียนของ[[ชอร์ช ปิแยร์ เซอราต์]], [[Paul Signac|พอล ซินยัค]] และ [[Henri-Edmond Cross|อองรี-เอ็ดมงด์ โครส]] คำว่า “Pointillism” คิดขึ้นโดย[[art critics|นักวิพากษ์ศิลป์]]ราวปลายคริสต์ทศวรรษ 1880 เพื่อเยาะเย้ยงานเขียนของศิลปินกลุ่มนี้ แต่ในปัจจุบันเป็นการใช้ที่ต่างทัศนะจากเดิมโดยปราศจากการเย้ยหยัน
 
ถ้าแสงแดง, เขียว และ น้ำเงินผสมเข้าด้วยกัน ผลที่ออกมาก็จะใกล้เคียงกับแสงขาว สีสว่างที่เกิดจากการผสานจุดสีอาจจะเกิดจากการเลี่ยงการหักการผสม และ หรือ ผลที่ใกล้เคียงกับการได้มาจากการผสมสีประกอบโดยการใช้รงควัตถุ แต่เทคนิคการผสานจุดสีทำให้สูญเสียคุณลักษณะของฝีแปรงบนพื้นผิวภาพ (Texturetexture) ที่เกิดจากการใช้เทคนิคการเขียนภาพ
การสร้างงานผสานจุดสีตรงกันข้ามกับวิธีการเขียนภาพที่ใช้กันทั่วไปที่จะผสมรงค์วัตถุที่ต้องการจะใช้บนจานผสมสี โดยใช้สีที่ผสมสำเร็จที่ขายกันในตลาด การผสานจุดสีคล้ายกับกระบวนการพิมพ์สี่สี (CMYK) ที่ใช้ในการพิมพ์สีของแท่นพิมพ์ขนาดใหญ่ที่ใช้สี Cyan (น้ำเงิน), Magenta (แดง), Yellow (เหลือง) และ Key (ดำ) โทรทัศน์หรือจอคอมพิวเตอร์ก็ใช้เทคนิคการผสานจุดสีในการสร้างภาพแต่ใช้สีแดง, เขียว และ น้ำเงิน (RGB) แทนที่
 
ถ้าแสงแดง, เขียว และ น้ำเงินผสมเข้าด้วยกัน ผลที่ออกมาก็จะใกล้เคียงกับแสงขาว สีสว่างที่เกิดจากการผสานจุดสีอาจจะเกิดจากการเลี่ยงการหักการผสม และ หรือ ผลที่ใกล้เคียงกับการได้มาจากการผสมสีประกอบโดยการใช้รงควัตถุ แต่เทคนิคการผสานจุดสีทำให้สูญเสียคุณลักษณะของฝีแปรงบนพื้นผิวภาพ (Texture) ที่เกิดจากการใช้เทคนิคการเขียนภาพ
 
นอกจากจะใช้กับจิตรกรรมแล้วลัทธิผสานจุดสีก็ยังหมายถึงลักษณะงานคีตกรรมลักษณะหนึ่งของคริสต์ศตวรรษ 20 ที่ใช้โดยคีตกวีเช่นคีตกวีออสเตรีย[[Anton Webern|อันทอน เวแบร์น]] (ค.ศ. 1883 - ค.ศ. 1945)
เส้น 17 ⟶ 16:
* [[Henri-Edmond Cross|อองรี-เอ็ดมงด์ โครส]]
* [[John Roy|จอห์น รอย]]
* [[ฌอร์ฌ ปีแยร์-เซอรา]]
* [[ชอร์ช ปิแยร์ เซอราต์]]
* [[Paul Signac|พอปอซินยัคซีญัก]]
* [[Maximilien Luce]]
* [[ฟินเซนต์ ฟานฟัน ก็อกฮ์โคค]]
 
== อ้างอิง ==
เส้น 26 ⟶ 25:
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ลัทธิประทับใจใหม่]]
* [[ศิลปะอิมเพรสชันนิสม์ใหม่]]
* [[ศิลปะวิภาคนิยม]]