ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ (Shanghai Economic Organization) เป็นองค์การความร่ว...
 
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''องค์การความร่วมือเซี่ยงไฮ้''' ({{lang-en|Shanghai Cooperation Organisation}}, ย่อ: SCO) เป็นองค์การการเมือง เศรษฐกิจและการทหารใน[[ยูเรเซีย]] ก่อตั้งในปี 2544 ใน[[เซี่ยงไฮ้]] โดยผู้นำจีน คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน รัสเซีย ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน เดิมห้าประเทศ ยกเว้นอุซเบกิสถาน เป็นผู้ก่อตั้ง "เซี่ยงไฮ้ไฟฟ์" (Shanghai Five) ในปี 2539 แต่ต่อมาอุซเบกิสถานเข้าร่วมในปี 2544 จึงได้เปลี่ยนชื่อองค์การมาเป็นดังในปัจจุบัน
องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ (Shanghai Economic Organization) เป็นองค์การความร่วมมือที่ประกอบด้วยสมาชิกถาวร 5 ประเทศ คือจีน รัสเซีย คาซัคสถาน คีร์กิซสถาน ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน มีประเทศผู้สังเกตการณ์ 5 ประเทศ คือ อัฟกานิสถาน อินเดีย อิหร่าน มองโกเลีย และปากีสถาน ประเทศหุ้นส่วนในการเจรจา 2 ประเทศ คือ เบลารุส และศรีลังกา
 
กลุ่มองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ มีประชากรหนึ่งในสามของโลก มีบทบาทในการท้ายทายระเบียบโลกเก่า (old order) ผ่านการสร้างระเบียบโลกใหม่ (new order) เพราะระบบโลกหรือระเบียบปัจจุบันกำลังล่มสลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งยุโรปเพราะภาวะการถดถอยของเศรษฐกิจ ซึ่งจะลุกลามไปยังอเมริกา เป็นการล่มสลายของกลุ่มอำนาจเก่าที่ครอบงำโลกในปัจจุบัน
 
องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้กำบังก่อตัวเด่นชัด สร้างภูมิคุ้มกันและท้าทายอำนาจเก่า คือกลุ่มแองโกล-แซกซั่นที่ต้องการสร้างระเบียบโลกใหม่โดยถือหลักหนึ่งเดียวสามประการ คือ รัฐบาลโลกเดียว(one world government) เงินสกุลหลักของโลก (one world currency) และธนาคารของโลก(one world bank) หลังระบบของโลกในปัจจุบันล่มสลาย เพื่อที่กลุ่มแองโกล-แซกซั่นจะได้ครองอำนาจบนโลกแย่งชิงทรัพยากรของชาติต่างๆ ได้ต่อไปเหมือนเดิม
 
{{โครงหน่วยงาน}}