ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเมืองฝ่ายซ้าย–ฝ่ายขวา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
คำว่า '''ฝ่ายซ้าย-ฝ่ายขวา''' ({{lang-en|left-right politics}}) เป็นระบบจำแนกจุดยืน อุดมการณ์ทางการเมืองและพรรคการเมือง การเมืองฝ่ายซ้ายและการเมืองฝ่ายขวามักถูกนำเสนอว่าขัดแย้งกัน แม้ว่าปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มอาจมีจุดยืนฝ่ายซ้ายในประเด็นหนึ่ง และจุดยืนฝ่ายขวาในอีกประเด็นหนึ่งก็ได้ ในประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นที่กำเนิดของคำดังกล่าว ฝ่ายซ้ายถูกเรียกว่า "ขบวนการเคลื่อนไหว" (party of movement) และฝ่ายขวาถูกเรียกว่า "ขบวนการระเบียบ" (party of order)<ref>Knapp & Wright, p. 10</ref><ref>Adam Garfinkle, Telltale Hearts: The Origins and Impact of the Vietnam Antiwar Movement'' (1997). Palgrave Macmillan: p. 303.</ref><ref>"[http://www.merriam-webster.com/dictionary/left Left (adjective)]" and "[http://www.merriam-webster.com/dictionary/left?show=1&t=1325146819 Left (noun)]" (2011), ''Merriam-Webster Dictionary''.</ref><ref>Roger Broad, ''Labour's European Dilemmas: From Bevin to Blair'' (2001). Palgrave Macmillan: p. xxvi.</ref> จุดยืนแบบเป็นกลางเรียกว่า [[centrism|สายกลาง]] (centrism) และบุคคลที่มีจุดยืนดังกล่าวเรียกว่า กลุ่มสายกลางหรือผู้เดินสายกลาง (moderate)
คำว่า '''ฝ่ายซ้าย-ฝ่ายขวา''' ({{lang-en|left-right politics}}) มีที่มาจากในช่วง[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]] ในรัชสมัยของ[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส]] (ราว ค.ศ. 1790) หลังจากนั้นได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองไปอยู่ในรูปแบบสาธารณรัฐ และมีสมัชชาแห่งชาติทำหน้าที่[[รัฐสภา]]ประกอบด้วยตัวแทนจากหลายภาคส่วน
* ภายในห้องประชุมสมัชชา กลุ่มตัวแทน[[กรรมกร]] [[ชาวไร่]][[ชาวนา]] นั่งทางด้านซ้ายของท่านประธานสมัชชา (left-wing) โดยข้อเสนอแนะของตัวแทนของคนยากจน หรือที่เรียกในสมัยนั้นว่า [[กระฎุมพี|ไพร่กระฎุมพี]] ก็จะเรียกว่าข้อเรียกร้องของ '''ฝ่ายซ้าย'''
* ขณะที่ตัวแทนของ[[ขุนนาง]] [[ทหาร]] [[นักบวช]] และคนร่ำรวย หรือพวก[[ศักดินา]] นั่งทางด้านขวา (right-wing) โดยข้อเสนอของกลุ่มคนเหล่านี้ ก็จะเรียกว่าข้อเรียกร้องของ '''ฝ่ายขวา'''
 
มีความเห็นพ้องทั่วไปว่าฝ่ายซ้ายรวมถึง[[progressivism|กลุ่มก้าวหน้า]], [[คอมมิวนิสต์]], [[สังคมเสรีนิยม]], [[การเมืองกรีน|กรีน]], [[social democracy|สังคมประชาธิปไตย]], [[สังคมนิยม]], [[สังคมนิยมประชาธิปไตย]], [[อิสรนิยมฝ่ายซ้าย]], [[ฆราวาสนิยม]], [[คตินิยมสิทธิสตรี]], [[Autonomism|ลัทธิอัตตาณัติ]], ลัทธิต่อต้านจักรวรรดินิยม, ลัทธิต่อต้านทุนนิยม และ[[อนาธิปไตย]]<ref>JoAnne C. Reuss, ''American Folk Music and Left-Wing Politics'', The Scarecrow Press, 2000, ISBN 978-0-8108-3684-6</ref><ref>Van Gosse, ''The Movements of the New Left, 1950&nbsp;– 1975: A Brief History with Documents'', Palgrave Macmillan, 2005, ISBN 978-1-4039-6804-3</ref><ref>Berman, Sheri. "Understanding Social Democracy". http://www8.georgetown.edu/centers/cdacs//bermanpaper.pdf. Retrieved on 2007-08-11.</ref><ref>Brooks, Frank H. (1994). The Individualist Anarchists: An Anthology of Liberty (1881–1908). Transaction Publishers. p. xi. "Usually considered to be an extreme left-wing ideology, anarchism has always included a significant strain of radical individualism...</ref> และฝ่ายขวารวมถึง[[อนุรักษนิยม]], [[Reactionary|ปฏิกิริยา]], [[อนุรักษนิยมใหม่]], [[ประเพณีนิยม]], [[ทุนนิยม]], [[เสรีนิยมใหม่]], [[อิสรนิยมฝ่ายขวา]], [[อำนาจนิยมฝ่ายขวา]] [[กษัตริย์นิยม]] [[เทวาธิปไตย]] [[ชาตินิยม]] [[นาซี]] (รวม[[นาซีใหม่]]และ[[ฟาสซิสต์]]<ref>The Concise Columbia Encyclopedia, Columbia University Press, ISBN 0-231-05678-8</ref>
ต่อมาจนถึงยุค[[การปฏิวัติรัสเซีย พ.ศ. 2460|การปฏิวัติรัสเซีย]]และ[[ประเทศจีน#.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.95.E0.B8.B4.E0.B8.A8.E0.B8.B2.E0.B8.AA.E0.B8.95.E0.B8.A3.E0.B9.8C|จีน]] มีการตีความ ไพร่กระฎุมพี เปลี่ยนเป็น[[ชนชั้นกรรมาชีพ]] และศักดินา เปลี่ยนเป็น[[นายทุน]] ทำให้อธิบายได้ว่า รัสเซียและจีน กลายเป็น '''ฝ่ายซ้าย''' คือฝ่ายที่คนจนเป็นใหญ่ในแผ่นดิน ในขณะที่[[สหรัฐอเมริกา]] และค่ายประชาธิปไตย เป็น '''ฝ่ายขวา''' คือฝ่ายที่คนรวยเป็นใหญ่ในแผ่นดิน
 
== อ้างอิง ==
== นัยสำคัญอื่น ๆ ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
คำว่า ฝ่ายซ้าย และ ฝ่ายขวา อาจใช้ได้หลายนัยสำคัญ เช่น{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
* ในทาง[[การเมือง]] [[เผด็จการ]] = ขวา [[ประชาธิปไตย]] = ซ้าย
* ในทาง[[เศรษฐกิจ]] การผูกขาด = ขวา [[การค้าเสรี]] = ซ้าย
* ในทาง[[สังคม]] [[อนุรักษนิยม]] = ขวา [[เสรีนิยม]] = ซ้าย
 
== ฝ่ายซ้าย-ฝ่ายขวา ในประเทศไทย ==
'''ฝ่ายซ้ายเก่า''' คือกลุ่มคนที่เป็น[[คอมมิวนิสต์]] ช่วงตั้งแต่ตั้ง[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย]] ในปี พ.ศ. 2475 จนถึงยุคที่ถูกสลายหลังจาก จอมพล [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] ปราบปรามอย่างหนัก จนทำให้ต้องหลบหนีเข้าไปอาศัยอยู่ใน[[ป่า]] ตัวอย่างบุคคลที่เรียกได้ว่าเป็นตัวแทนของฝ่ายซ้ายเก่า เช่น [[จิตร ภูมิศักดิ์]] [[ทองใบ ทองเปาด์]] [[อัศนี พลจันทร์]] พันโท [[พโยม จุลานนท์]] เป็นต้น
 
'''ซ้ายใหม่''' ต่อมาอาจกล่าวได้ว่ากลุ่มฝ่ายซ้ายใหม่ คือ นักศึกษายุค[[สายลมแสงแดด]] จนถึงช่วง 14 ตุลา และ 6 ตุลา โดยกลุ่มคนกลุ่มนี้ไม่ได้รับอิทธิพลของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยแต่เพียงอย่างเดียว แต่ว่ายังได้รับอิทธิพลจาก[[ฮิปปี้]]อเมริกัน [[ขบวนการบุปผาชน]] การต่อต้าน[[สงครามเวียดนาม]]ของฝั่งประเทศตะวันตก
 
'''ซ้ายใหม่''' หลังจากวันเวลาผ่านไป ซ้ายเก่า และซ้ายใหม่ข้างต้น นับรวมเป็น ซ้ายเก่าทั้งหมด และได้มีกลุ่มฝ่ายซ้ายใหม่เกิดขึ้น คือ กลุ่มคนที่มีแนวคิดการเมืองก้าวหน้าทั้งมวล เช่น [[สิทธิสตรี]] [[รัฐสวัสดิการ]] [[มาร์กซิสต์]] เป็นต้น กลุ่มซ้ายใหม่นี้ไม่ได้รับอิทธิพลจากพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยเลย เพราะเป็นกลุ่มที่ถูกเรียก หลังจากพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยยุติบทบาทไปแล้ว ถือว่าเป็นซ้ายใหม่
 
'''ฝ่ายขวา''' คือกลุ่มคนที่เป็นคนในชนชั้นศักดินา ขุนนาง ทหาร ผู้ที่มักเรียกว่าเป็นฝ่ายขวา เช่น [[สนธิ ลิ้มทองกุล]] พลเอก [[เปรม ติณสูลานนท์]] [[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] พลเอก [[สพรั่ง กัลยาณมิตร]] เป็นต้น จากการตั้งนิยามแบบกว้างของฝ่ายซ้ายว่า กลุ่มคนฝ่ายขวา คือกลุ่มที่ไม่ยอมรับ[[การเลือกตั้ง]] หรือการเรียกร้องให้พระมหากษัตริย์ใช้พระราชอำนาจตามรัฐธรรมนูญ (มาตรา 7) ในการแต่งตั้ง[[นายกรัฐมนตรี]] (จากเหตุการณ์ก่อนการ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549]]) แต่การนิยามเช่นนี้อาจไม่ถูกต้องครบถ้วนเสมอไป (อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นเชื้อสายเวียดนาม อพยพเข้ามาอยู่ในเมืองไทย ไม่ใช่ชนชั้นศักดินา และ สนธิ ลิ้มทองกุล ก็เป็นคนเชื้อสายจีนอพยพมาทำกินในเมืองไทยไม่ใช่ชนชั้นศักดินาเช่นกัน ชนชั้นศักดินาคือคนไทยตระกูลเก่าที่รับราชการสมัยพระมหากษัตริย์ปกครอง หรือมั่งคั่งมีชาติตระกูลไทยมาแต่เดิม)
 
== ฝ่ายซ้าย-ฝ่ายขวา กับระบอบประชาธิปไตย ==
 
โดยภาพรวมอาจมองได้ว่า [[ระบอบประชาธิปไตย]] เป็นแบบกลาง ๆ และค่อนไปทางซ้าย คือสามารถมีได้ทั้งฝ่ายซ้ายและฝ่ายขวา แต่อาจแยกกลุ่มคนในระบอบประชาธิปไตยออกเป็นหลายกลุ่มย่อย เช่น กลุ่มที่นิยมการเลือกตั้ง แต่ถ้ากีดกัน เพศที่สาม สตรี คนข้ามชาติ คนจน ระดับการศึกษา ก็จะนับว่าเป็นสายกลางค่อนไปทางขวา และกลุ่มคนชั้นสูงที่มีความเห็นใจกับคนจน คนด้อยโอกาส และได้สังคมสงเคราะห์ให้แก่พวกเขา แต่สนับสนุน[[ระบบสวัสดิการสังคม]] ก็นับเป็นพวกฝ่ายซ้ายเช่นกัน
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[คลั่งเจ้า]]
* [[ประชาธิปไตย]]
* [[สังคมนิยม]]
* [[คอมมิวนิสต์]]
* [[อนาธิปไตย]]
* [[อนุรักษนิยม]]
 
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์การเมือง]]