ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธัมมปทัฏฐกถา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ธัมมปทัฏฐกถา''' หรือ ธมฺมปทฏกถา({{lang-pi|ธมฺมปทฏฐกถา}}) เป็น[[อรรถกถา]]ของ[[ธรรมบท]] หรือประมวลคาถา 423 คาถา ซึ่งปรากฏใน ขุททกนิกาย[[ขุททกนิกาย]]แห่ง[[พระสุตตันตปิฎก]] กล่าวกันว่า พระพุทธโฆษาจารย์ หรือ[[พระพุทธโฆสะ]] พระอรรถกถาจารย์ชาวชมพูทวีป ซึ่งเดินทางไปแปลอรรถกถาในสิหลทวีปได้เรียบเรียงไว้จาก[[ภาษาสิงหล ]]เป็น[[ภาษามคธบาลี]] ปัจจุบันธัมมปทัฏฐกถา ธัมมปทัฏฐกถาใช้เป็นคัมภีร์ในการศึกษาพระปริยัติธรรมในประเทศไทย จึงเป็นคัมภีร์อรรถกถาที่ได้รับความนิยมศึกษามากที่สุดเล่มหนึ่ง
 
ธัมมปทัฏฐกถา หรือ ธมฺมปทฏกถา เป็นอรรถกถาของ[[ธรรมบท]] หรือประมวลคาถา 423 คาถา ซึ่งปรากฏใน ขุททกนิกายแห่งพระสุตตันตปิฎก กล่าวกันว่า พระพุทธโฆษาจารย์ หรือ[[พระพุทธโฆสะ]] พระอรรถกถาจารย์ชาวชมพูทวีป ซึ่งเดินทางไปแปลอรรถกถาในสิหลทวีปได้เรียบเรียงไว้จากภาษาสิงหล เป็นภาษามคธ ปัจจุบันธัมมปทัฏฐกถา ใช้เป็นคัมภีร์ในการศึกษาพระปริยัติธรรมในประเทศไทย จึงเป็นคัมภีร์อรรถกถาที่ได้รับความนิยมศึกษามากที่สุดเล่มหนึ่ง
 
== ผู้แต่ง ==
ตามขนบพุทธศาสนาฝ่าย[[เถรวาท]] เป็นที่ยอมรับกันว่า พระพุทธโฆษาจารย์ หรือ[[พระพุทธโฆสะ]]ได้เรียบเรียงธัมมปทัฏฐกถาเป็นภาษามคธ เมื่อ พ.ศ. 956
<ref>ธีรวัส บำเพ็ญบุญบารมี. ประวัติพระพุทธโฆษาจารย์.</ref> ซึ่งในคำนมัสการ ท่านผู้รจนาประกาศว่า ท่านได้รับการอาราธนาจากพระเถระนามว่า พระกุมารกัสสปเถระ (เป็นนามพระสังฆเถระเถระองค์หนึ่ง ในสมัยพระพุทธโฆษาจารย์ ไม่ใช่[[พระกุมารกัสสปกัสสปะ]]ในสมัยพุทธกาล) ให้รจนาคัมภีร์อรรถกถาอธิบายแจกแจงพระธรรมบทขึ้น <ref>พระไตรปิฎกมหามกุฏราชวิทยาลัย. ธัมมปทัฏฐกถา อรรถกถาขุททกนิกาย. หน้า 6 - 7</ref>
 
อย่างไรก็ตาม ข้อมูบบางแห่งแสดงความกังขาว่า[[พระพุทธโฆสะ]]เป็นผู้รจนาคัมภีร์นี้จริงหรือไม่ โดยชี้ให้เห็นถึงความแตกต่างระวห่างสำนวนภาษาของธัมมปทัฏฐกถา กับอรรถกถาอื่นๆอื่น ๆ ที่พระพุทธโฆสะรจนา รวมถึงยังมีรายละเอียดบางส่วนที่แตกต่างจากงานอื่นๆ ของท่าน เช่น นิทานเรื่องนายวาณิชย์โฆสก ที่ปรากฎในอรรถกถา[[มโนรถปูรณี]]มีความแตกต่างจากที่ปรากฎในธัมมปทัฏฐกถา <ref>Bimala Charan Law. (1923). หน้า 81</ref>
 
กระนั้น ได้มีผู้โต้แย้งในประเด็นนี้เช่นกันว่า ความแตกต่างนั้นเป็นเพราะเนื้อหาของพระไตรปิฎก ที่ท่านอรรถกถาจารย์อธิบายนั้นมีความแตกต่างกันไปตามหมวดหมู่ต่างๆ มิใช่เพราะสำนวนภาษาเพียงอย่างเดียว นอกจากนี้ พระพุทธโฆสะยังเป็นผู้ "แปล" อรรถกถาจากมหาอรรถกา มหาปัจจารี และกุรุทะ อรรถกา ของเดิมเสียเป็นส่วนใหญ่ ด้วยเหตุนี้ รายละเอียดที่ปรากฎในอรรถกถาที่ท่านเรียบเรียงขึ้นจึงมีความแตกต่างกันไปบ้าง <ref>Bimala Charan Law. (1923). หน้า 82</ref>
เส้น 29 ⟶ 28:
*กองตำรา มหากุฏราชวิทยาลัย. (2481). พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 8. พระนคร. มหากุฏราชวิทยาลัย.
 
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมอรรถกถา]]