ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เพลงใต้ดิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่สากล
บรรทัด 3:
 
'''เพลงใต้ดิน''' หรือ '''เพลงอินดี้''' ({{lang-en|Independent music หรืออาจรู้จักกันว่า Indy หรือ Indies}}) คือ [[เพลง]]หรือ[[ดนตรี]]ของศิลปิน ที่ไม่มีสังกัดที่เป็นหลักฐานแน่นอน" หรือ "เพลงที่ไม่สามารถออกเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้" หรือ "เพลงที่ศิลปิน หรือ นักแต่งเพลง ทำกันเอง และไม่ได้เผยแพร่อย่างกว้างขวาง"
 
คำว่าเพลงใต้ดินไม่ใช่แนว แต่เป็นคำจำกัดความของชนิดของเพลงชนิดนี้ ที่มาของคำว่าเพลงใต้ดิน เป็นการเรียกเปรียบเทียบว่า เพลงที่มีสังกัดแน่นอนเช่นเพลงของค่าย RS, GMM Grammy, ฯลฯ เป็นเพลงบนดิน ที่มีคนฟังอยู่ตลอด และรู้จักตลอด ส่วนเพลงที่สาธารณชนไม่ได้รู้จัก เปรียบเสมือนเพลงที่ไม่มีใครพบเห็น เพราะมันอยู่ใต้ดิน ไม่มีใครทราบแน่ชัด
 
แนวที่เพลงใต้ที่เหล่าศิลปินนิยมทำส่วนใหญ่เป็นเพลงร็อกที่มีความหนัก เช่นแนว [[อัลเทอร์เนทีฟร็อก]], [[ฮาร์ดร็อก]], [[โมเดิร์นร็อก]], [[พังค์ร็อก]], [[เฮฟวี่เมทัล]] เป็นต้น หรือในแนว[[ฮิปฮอป]]ที่มักมีเนื้อหาหยาบคาย
 
เพลงใต้ดินเริ่มเป็นที่รู้จักกันในเมืองไทย ประมาณปี พ.ศ. 2537 โดยกลุ่มศิลปินที่ชื่อว่า [[ซีเปีย (วงดนตรี)|ซีเปีย]] เป็นต้น
กลุ่มศิลปินแรก ๆ เลย ที่เทียบได้ว่าเป็นใต้ดินขนานแท้ๆ เลยครับ วงอมตะ วงเนื้อกับหนัง เพลงที่ฟังแล้ว คือแนวใต้ดินเลย เพลงฆาตะกัญชา ครับ..ปีที่ออกมาไม่แน่ชัด น่าจะก่อน 2530 และเริ่มมาเป็นกระแสอย่างแรง จากรายการวิทยุ รายการหนึ่ง ที่ปลุกกระแสงานเพลงทำมือ ทุกแนว ไม่จำกัด ที่ไม่อิงค่ายเพลง(ยิ่งกว่า มันใหญ่มาก ในยุคนี้ครับ) ในยุคนั้นเกิดวงดนตรีใหม่ แทบทุกวัน งานเพลงใต้ดินจึงผงาดออกมาแสดงงตัวตนได้เต็มตัว เหนือจรดใต้ พัทยา กรุงเทพฯ ล่วงเป็นแหล่งปล่อยผลงานเด่นๆ มามากมาย เช่น ดอนผีบิน โจฮัน อีโบร่า ดีแซมเบอ เฮฟวี่มด(Y not 7) วิปลาส วิสาท ด้ามขวาน เป็นต้น แต่คนในประเทศไม่ค่อยนิยมเท่าที่ควร ส่วนใหญ่วงเจ๋งๆ จะดังมากในต่างประทเศ นับจนถึงวันนี้ก็ยังหลงเหลือตัวจริงเพียงไม่กี่วง ศิลปินหลายๆ คนมาเป็นเบื้องหลังบาง เปลี่ยนเส้นทางบาง
== ดูเพิ่ม ==
* [[ค่ายเพลงอิสระ]]