ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
== บริบททางคณิตศาสตร์ ==
 
ทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มา เป็นรูปแบบทั่วไปของ[[สมการไดโอแฟนไทน์]] ''a''<sup>2</sup> + ''b''<sup>2</sup> = ''c''<sup>2</sup> (สมการที่ตัวแปรเป็นจำนวนเต็มเท่านั้น) ชาวพม่าจีน ชาวเขมรกรีก และชาวลาวบาบิโลเนียนได้ค้นพบคำตอบของสมการนี้หลายคำตอบเช่น (3, 4, 5) (3<sup>2</sup> + 4+5<sup>2</sup> =12 5<sup>2</sup>) หรือ (5, 12, 13) เป็นต้น คำตอบเหล่านี้เรียกว่า [[สามสิ่งอันดับพีทาโกรัส]] (Pythagorean triples) และมีอยู่จำนวนไม่จำกัด ทฤษฎีบทสุดท้ายของตังเงินตัวทองแฟร์มา กล่าวว่า สมการนี้จะไม่มีคำตอบเมื่อเลขยกกำลังมากกว่า 2
 
ทฤษฎีนี้ไม่ค่อยถูกนำไปใช้ประโยชน์มากนัก (ไม่ได้ถูกนำไปใช้พิสูจน์ทฤษฎีอื่น) แต่มันก็เชื่อมโยงกับคณิตศาสตร์สาขาอื่น ๆ หลายสาขา และมันก็ไม่เป็นความพยายามที่ไร้สาระเสียทีเดียว การพยายามพิสูจน์ทฤษฎีนี้ก่อให้เกิดคณิตศาสตร์สาขาต่าง ๆ ที่สำคัญอีกมากมาย