ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาฬมรณะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
 
[[ไฟล์:Black Death.jpg|thumb|350px|right|ภาพวาดเดอะแบล็กเด็ธ ในคัมภีร์ Toggenburg Bible (1411)]]
{{ใช้ปีคศ}}
 
'''แบล็กเดท''' ({{lang-en|Black Death}}) เป็น[[โรคระบาดทั่ว]]ครั้งที่ก่อความเสียหายมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษย์ ซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิตประเมินไว้ราว 75 ถึง 200 ล้านคน และทวีความรุนแรงที่สุดในทวีปยุโรประหว่างปี 1348–50 การวิเคราะห์ดีเอ็นเอของผู้เสียชีวิตในทวีปยุโรปตอนเหนือและใต้บ่งชี้ว่า จุลชีพก่อโรคอันเป็นสาเหตุของโรค คือ แบคทีเรีย ''[[Yersinia pestis]]'' ซึ่งอาจก่อกาฬโรคได้หลายแบบ
'''แบล็กเดท''' ({{lang-en|Black Death หรือ Black Plague}}) หมายถึงเหตุการณ์โรคระบาดที่ร้ายแรงที่สุดเหตุการณ์หนึ่ง ในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ ([[กาฬโรค]])
 
คาดว่าแบล็กเดทเริ่มต้นในจีนหรือเอเชียกลาง จากนั้นแพร่มาตาม[[เส้นทางสายไหม]]และถึง[[ไครเมีย]]ในปี 1346 และหมัดหนูตะวันออก (''Xenopsylla cheopis'') ซึ่งอาศัยอยู่ในหนูดำอันอยู่บนเรือพาณิชย์ทั่วไป น่าจะเป็นตัวนำโรคจากไครเมีย กาฬโรคได้แพร่ไปทั่วเมดิเตอร์เรเนียนและทวีปยุโรป ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตเป็น 30–60% ของประชากรทั้งทวีปยุโรป กาฬโรคลดประชากรโลกจากที่ประเมินไว้ 450 ล้านคน ลงเหลือ 350–375 ล้านคนในคริสต์ศตวรรษที่ 14
เริ่มต้นขึ้นในแถบตะวันตกเฉียงใต้ และตอนกลางของ[[เอเชีย]] และแพร่กระจายเข้าไปที่[[ยุโรป]] มียอดผู้เสียชีวิตจากทั่วโลกรวมแล้วประมาณ 75 ล้านคน และในจำนวนประมาณ 20 ล้านคนเกิดขึ้นที่แถบยุโรปเท่านั้น จากเหตุการณ์กาฬโรคระบาดในยุโรปทำให้ชาวยุโรปเสียชีวิตไปร่วม 2/3 ของประชากรชาวยุโรปทั้งหมด
 
โรคเดียวกันนี้จะกลับมาระบาดที่ยุโรปในทุกยุคทุกสมัย และจะทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อย นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1700 มีความพยายามที่จะหยุดยั้งโรคระบาดนี้ในทุกทาง ไม่ว่าจะรุนแรงแค่ไหน และดูเหมือนว่าโรคนี้จะหายไปจากยุโรปราวช่วงศตวรรษที่ 18
 
กาฬโรคระบาดในยุโรปส่งผลกระทบอย่างยิ่งต่อประชากรชาวยุโรป และเปลี่ยนโครงสร้างทางสังคมของชาวยุโรปไปอย่างสิ้นเชิง มันยังจู่โจมไปถึงวิหารโรมันคาทอลิก ซึ่งเป็นศูนย์รวมของศาสนจักรในสมัยนั้น ส่งผลให้มีการล่าสังหารพวกชนกลุ่มน้อยไปทั่วทุกสารทิศ อย่างเช่นพวก ยิว มุสลิม ชาวต่างชาติ ขอทาน ผู้เป็นโรคเรื้อน ฯลฯ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อทัศนะคติของชาวยุโรปในยุคนั้น ว่าอย่างน้อยวันนี้ต้องเอาชีวิตให้รอดให้ได้
 
== การแพร่ระบาดของโรคร้าย และปัจจัยเสริมความรุนแรง ==