ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การย้ายราชสำนักโปรตุเกสไปบราซิล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 5:
ในปี พ.ศ. 2350 [[สงครามคาบสมุทร]]ระยะแรก กองทัพนโปเลียนบุกครองโปรตุเกส เนื่องจากเป็นพันธมิตรกับสหราชอาณาจักร [[พระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส|เจ้าชายโจเอาแห่งโปรตุเกส]] เจ้าชาย[[ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]]ขณะนั้น ปกครองโปรตุเกสแทนพระราชมารดา [[สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกส|สมเด็จพระราชินีนาถมาเรียที่ 1 แห่งโปรตุเกส]] ตั้งแต่ พ.ศ. 2342 พระเจ้าโจเอาที่ 6 ทรงคาดล่วงหน้าว่ากองทัพฝรั่งเศสจะบุกครอง จึงมีรับสั่งให้ย้ายราชสำนักโปรตุเกสไปยังบราซิลก่อนที่พระองค์จะถูกถอดจากราชบัลลังก์ กำหนดวันออกเดินทางไปบราซิล คือ วันที่ 29 พฤศจิกายน การเสด็จของเจ้าชายโจเอาอยู่ภายใต้การคุ้มครองของ[[ราชนาวี|ราชนาวีอังกฤษ]] ภายใต้การบัญชาการของพลเรือเอก เซอร์[[ซิดนีย์ สมิธ (นายทหารราชนาวี)|ซิดนีย์ สมิธ]] ในวันที่ 5 ธันวาคม เกือบครึ่งทางระหว่างลิสบอนและ[[มาเดรา]] ซิดนีย์ สมิธพร้อมกับเอกอัครราชทูตอังกฤษประจำลิสบอน [[เพอร์ซี สมีธี ไวส์เคานท์สแตรงก์ฟอร์ดที่ 6|ลอร์ดสแตรงก์ฟอร์ด]]ได้กลับมายังยุโรปด้วยกองเรือรบเล็กส่วนหนึ่ง [[เกรแฮม มัวร์]] ลูกเรืออังกฤษและนายทหารราชนาวี พาเสด็จพระราชวงศ์โปรตุเกสไปยังบราซิลต่อด้วย[[เรือหลวงมาร์ลบะระห์ (1807)|เรือหลวงมาร์ลบะระห์]], [[เรือหลวงลอนดอน (1766)|เรือหลวงลอนดอน]], [[เรือหลวงเบ็ดฟอร์ด (1775)|เรือหลวงเบ็ดฟอร์ด]]และ[[เรือหลวงโมนาร์ก (1765)|เรือหลวงโมนาร์ก]]<ref>Gomes, p. 97</ref>
 
ในวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2351 เจ้าชายโจเอาและราชสำนักได้เสด็จถึง[[ซัลวาดอร์]] บราซิล ที่ซัลวาดอร์เจ้าชายโจเจ้าชายโจเอาได้ทำทรงลงนามกฎหมายซึ่งเปิดการประกาศ[[พระราชกฤษฎีกาการเปิดเมืองท่าแก่ค้าระหว่างบราซิลกับชาติพันธมิตร]]ที่เป็นมิตร (โดยหลักคือ สหราชอาณาจักร)เป็นหลัก พระราชกฤษฎีกาใหม่นี้อย่างไรก็ตามได้ทำลาย''ข้อตกลงดี กฎหมายฉบับใหม่นี้ฝ่าฝืนสนธิสัญญาอาณานิคม'' ซึ่งจนถึงครั้งขณะนั้นเฉพาะ อนุญาตให้บราซิลรักษาความสัมพันธ์ทางการค้าพาณิชย์โดยตรงกับโปรตุเกสเท่านั้น ในการเจรจาลับในกรุงลอนดอนปีเมื่อ พ.ศ. 2350 โดยเอกอัครราชทูตโปรตุเกสคือ โดมิงโกส อันโตนิโอ เดอ เซาซา โคทินโฮ ได้รับรองให้กองทัพอังกฤษประกันการคุ้มครองโดยแลกเปลี่ยนทางทหารของอังกฤษ แลกกับการให้อังกฤษสามารถเข้าท่าในเข้าถึงท่าของบราซิลและตั้งฐานทัพเรือที่[[มาเดรา]] การเจรจาลับของโคทินโฮได้ปูทางไปสู่พระราชกฤษฎีกาให้กฎหมายของเจ้าชายโจเอาที่มาบรรลุผลในปี พ.ศ. 2351<ref>Gomes, p. 117</ref>
 
ในวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2351 ราชสำนักได้เสด็จมาถึง[[รีโอเดจาเนโร]] ในวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2358 เจ้าชายโจเอาทรงประกาศสถาปนา[[สหราชอาณาจักรโปรตุเกส บราซิล และแอลการ์ฟ]] (Reino Unido de Portugal, Brasil e Algarves) ด้วยเป็นการยกระดับบราซิลขึ้นมามีสถานะที่เท่าเทียมกับโปรตุเกสและยกระดับเพิ่มอิสระในการจัดการในอิสรภาพของปกครองตนเองแก่บราซิล ผู้แทนชาวบราซิลได้ถูกรับเลือกให้เข้ามาในสถาสู่สภารัฐธรรมนูญโปรตุเกส (Cortes Constitucionais Portuguesas) ในปี พ.ศ. 2359 จากการเสด็จสวรรคตของหลังสมเด็จพระราชินีนาถมาเรียที่ 1 เสด็จสวรรคต เจ้าชายโจเอาได้เสด็จขึ้นครองราชย์เป็น พระเจ้าโจเอาที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักรโปรตุเกส บราซิล และแอลการ์ฟ หลังจากความล่าช้าต่างๆหลายครั้ง พระราชพิธีการเปล่งเสียงสรรเสริญได้ถูดสนับสนุนจัดขึ้นที่ในรีโอเดจาเนโรเมื่อ ปีพ.ศ. 2361
 
เนื่องจากโปรตุเกสว่างเว้นพระมหากษัตริย์และอิสระทางเศรษฐกิจของบราซิล โปรตุเกสจึงเข้าสู่วิกฤตการณ์การเมืองรุนแรงซึ่งบีบให้พระเจ้าโจเอาที่ 6 และพระราชวงศ์เสด็จนิวัติโปรตุเกสใน พ.ศ. 2364 รัชทายาท พระเจ้าเปโดร ยังประทับอยู่ในบราซิล สภาโปรตุเกสเรียกร้องให้บราซิลกลับคืนสู่สถานะอาณานิคมดังเดิมและให้รัชทายาทเสด็จนิวัติโปรตุเกส เจ้าชายเปโดร ซึ่งได้รับอิทธิพลจากวุฒิสภาเทศบาลริโอเดจาเนโร ทรงปฏิเสธจะเสด็จนิวัติโปรตุเกสระหว่างเหตุการณ์ดีอาโดฟิโกอันขึ้นชื่อ (9 มกราคม พ.ศ. 2365) บราซิลมีอิสรภาพทางการเมืองเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2365 และเจ้าชายปราบดาภิเษกเป็นจักรพรรดิในริโอเดจาเนโร เฉลิมพระนามว่า [[จักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิล|จักรพรรดิดอม เปดรูที่ 1]] ยุติการครอบงำบราซิลเป็นอาณานิคมของโปรตุเกสนาน 322 ปี
 
ท่ามกลางมาตรการสำคัญที่นำมาโดยพระเจ้าโจเอาที่ 6 ในช่วงที่ทรงประทับในบราซิล เป็นช่วงที่มีแรงจูงใจสูงในด้านการพาณิชย์และอุตสาหกรรรม สิทธิในการตีพิมพ์หนังสือพิมพ์และหนังสือ การก่อตั้งโรงเรียนแพทย์สองแห่ง วิทยาลัยทางการทหาร และธนาคารแห่งแรกของบราซิล
==เชิงอรรถ==
{{รายการอ้างอิง}}