ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาฏศิลป์ในประเทศลาว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Lao New Year, dancers.jpg|left|thumb|หัวโขนสำหรับแสดงเรื่องพระลักพระลาม]]
'''นาฏศิลป์ในประเทศลาว''' ({{lang-lo|ນາດຕະກັມລາວ}}; "นาฏกรรมลาว") เป็นนาฏศิลป์ที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวซึ่งพบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยด้วย และการแสดงพื้นบ้านของกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆ มีทั้งนาฏศิลป์ในราชสำนัก และนาฏศิลป์พื้นบ้าน เช่น [[หมอลำ]] [[หนังตะลุง]] [[หลวงพระบาง]]และ[[เวียงจันทน์]]เป็นแหล่งของนาฏศิลป์คลาสสิกในราชสำนัก และนาฏศิลป์ที่ได้รับอิทธิพลจากเขมร<ref>''Laos.'' (2001). Rubin, D., Pong C. S., Caturvedi, R., ''et al'' (ed.) ''World encyclopedia of contemporary theatre: Asia/Pacific.'' (Vol. III). New York, NY: Routlegde.</ref>
 
== นาฏศิลป์คลาสสิก ==
[[ไฟล์:Lao New Year, dancers.jpg|left|thumb|หัวโขนสำหรับแสดงเรื่องพระลักพระลาม]]
เป็นนาฏศิลป์ที่พัฒนาขึ้นในราชสำนักล้านช้างซึ่งคล้ายกับที่พบในราชสำนักสยามและกัมพูชา ส่วนใหญ่แสดงเรื่องพระลักพระลาม ([[รามเกียรติ์]]หรือ[[รามายณะ]]ฉบับลาว) หรือจากนิทานชาดก รวมทั้งวรรณคดีท้องถิ่นเช่นสินไซ ([[สังข์ศิลป์ชัย]]) การแสดงแบบนี้มีสองประเภทคือ[[โขน]]และ[[ละคร]] โขนเป็นการแสดงเรื่องพระลักพระลาม ใช้ตัวแสดงชายหญิง<ref>Brandon, J. R. (1993). ''The cambridge guide to asian theatre.'' Cambridge, UK: Cambridge University Press.</ref> ละครเป็นการแสดงที่ส่วนใหญ่ใช้ผู้หญิง ส่วนหนังตะลุงเป็นการแสดงที่คล้าย[[วายัง]]ของชาวมลายู และเล่นเรื่องราวที่หลากหลายกว่าโขนและละคร