ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศักยะงาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus ย้ายหน้า กระแสประสาท ไปยัง ศักยะงาน: ศัพท์บัญญัติ
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Action potential vert.png|thumb|400 300px|การเกิดกระแสประสาท]]
'''กระแสประสาท หรือ สัญญาณประสาท''' ({{lang-en|action potential}}) เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ[[ความต่างศักย์]]ของ[[เยื่อหุ้มเซลล์ขณะพัก]] (resting membrane potential) หรือเกิด[[ดีโพลาร์ไรเซชัน]] (depolarization) ขึ้น <ref>http://physical.hcu.ac.th/pt3204/files/submenu103.html</ref> ภายหลังจากที่[[เซลล์]]ถูกกระตุ้น ซึ่งถ้าหากระดับความแรงของการกระตุ้นนั้นมากกว่าหรือเท่ากับจุดต่ำสุดที่ทำให้เกิดกระแสประสาทได้ ก็จะทำให้เกิดการส่งกระแสประสาทไปยังเซลล์ต่อไป
ในวิชา[[สรีรวิทยา]] '''ศักยะงาน''' ({{lang-en|action potential}}) เป็นเหตุการณ์ระยะสั้น ๆ ซึ่งศักย์เยื่อหุ้มเซลล์ไฟฟ้าของเซลล์เพิ่มและลดลงอย่างรวดเร็ว ตามด้วยแนววิถีต่อเนื่อง ศักยะงานเกิดขึ้นใน[[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]]สัตว์หลายชนิด เรียกว่า เซลล์ที่เร้าได้ (excitable cell) ซึ่งรวมถึง[[เซลล์ประสาท]] [[เซลล์กล้ามเนื้อ]] และ[[เซลล์เลี้ยงภายใน]] (endocrine cell) เช่นเดียวกับเซลล์พืชบางเซลล์ ในเซลล์ประสาท ศักยะงานมีบทบาทศูนย์กลางในการสื่อสารเซลล์ต่อเซลล์ ส่วนในเซลล์ประเภทอื่น หน้าที่หลักของศักยงาน คือ กระตุ้นกระบวนการภายในเซลล์ ตัวอย่างเช่น ในเซลล์กล้ามเนื้อ ศักยะงานเป็ยขั้นแรกในชุดเหตุการณ์ที่นำไปสู่การหดตัว ในเซลล์บีตาของ[[ตับอ่อน]] ศักยะงานทำให้เกิดการหลั่ง[[อินซูลิน]] ศักยะงานในเซลล์ประสาทยังรู้จักในอีกชื่อหนึ่งว่า "กระแสประสาท" หรือ "พลังประสาท" (nerve impulse) หรือ spike
[[ไฟล์:Action potential vert.png|thumb|400 px|การเกิดกระแสประสาท]]
 
== กฎ All-or-None ==
เมื่อเซลล์ประสาทถูกกระตุ้น ก็จะเกิดการตอบสนองคือเกิดการเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ของเยื่อหุ้มเซลล์ขึ้น การตอบสนองของ[[เยื่อหุ้มเซลล์]]นั้นมี 2 ลักษณะ คือ เกิดกระแสประสาทเมื่อแรงกระตุ้นถึงจุด threshold หรือไม่เกิดกระแสประสาทเมื่อแรงกระตุ้นไม่ถึงจุด threshold ลักษณะการตอบสนองเช่นนี้เรียกว่า all or none<ref>http://ativm15.tripod.com/lesson201.html</ref>