ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอมิโลส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thitimamk (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{chembox
1.ปริมาณอมิโลส (Apparent amylose - content) แป้งข้าวจะมีอมิโลสเปคตินเป็นองค์ประกอบหลักและอมิโลสเป็น องค์ประกอบรอง แต่โดยทั่วไปมักนิยมแบ่งประเภทข้าวโดยกล่าวถึงอมิโลสเป็นหลักสำคัญอัตราส่วนของอมิโลสและอมิโลเปคติน เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ข้าวสุกมีคุณสมบัติแตกต่างกัน ข้าวที่มีอมิโลสสูง ในระหว่างการหุงต้ม จะดูดน้ำได้มากกว่าข้าวที่มีอมิโลสต่ำ ปริมาณอมิโลสทำให้ข้าวสุกมีความเหนียวลดลง หรือร่วนมากขึ้น ข้าวที่มีอมิโลสสูงเมื่อหุงต้มสุก จึงร่วนกว่าและแข็งกว่าข้าวที่มีอมิโลสต่ำ ข้าวเหนียวเป็นข้าวที่มีปริมาณอมิโลสต่ำ (0-2%) เมื่อหุงต้มลักษณะข้าวสุก จะเหนียวมาก ได้แก่ ข้าวเหนียวสันป่าตอง กข6 และ กข10 ส่วนข้าวเจ้าเนื่องจากมีจำนวนหลายพันธุ์ เมื่อหุงต้มลักษณะข้าวสุกจะแตกต่างกัน ซึ่งแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้
| verifiedrevid = 455524109
1.1 ข้าวอมิโลสต่ำ เป็นข้าวที่มีปริมาณอมิโลส 10 - 19% เมื่อหุงต้มลักษณะข้าวสุกจะนุ่มเหนียว ได้แก่ข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 กข15 กข21 ปทุมธานี 1 ข้าวเจ้าหอมคลองหลวง 1 ข้าวเจ้าหอมสุพรรณบุรี และข้าวสังข์หยดพัทลุง ฯลฯ
| ImageFile = Amylose2.svg
1.2 ข้าวอมิโลสปานกลาง เป็นข้าวที่มีอมิโลส 20 - 25% เมื่อหุงต้มลักษณะข้าวสุกค่อนข้างนุ่มเหนียวเล็กน้อย ได้แก่ ข้าวพันธุ์ กข7 กข23 สุพรรณบุรี 60 ขาวปากหม้อ ขาวตาแห้ง 17 สุพรรณบุรี 2 เข็มทอง เล็บนกปัตตานี ไข่มดริ้น ดอกพยอม และหอมจันทร์ ฯลฯ
| ImageSize = 200px
1.3 ข้าวอมิโลสสูง เป็นข้าวที่มีปริมาณอมิโลส มากกว่า 25% เมื่อหุงต้มลักษณะข้าวสุกจะร่วนค่อนข้างแข็ง ได้แก่ ข้าวพันธุ์ นางพญา 132 กู้เมืองหลวง แก่นจันทร์ กันตัง เฉี้ยงพัทลุง ชัยนาท 1 กข25 กข1 กข13 ลูกแดงปัตตานี ปทุมธานี 60 สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 90 เหลืองประทิว 123 และปราจีนบุรี 1 ฯลฯ
| IUPACName =
| OtherNames =
| Section1 = {{Chembox Identifiers
| CASNo_Ref = {{cascite|correct|CAS}}
| CASNo = 9005-82-7
| PubChem =
| UNII_Ref = {{fdacite|correct|FDA}}
| UNII = 7TDQ74Y18L
| ChemSpiderID_Ref = {{chemspidercite|correct|chemspider}}
| ChemSpiderID = NA
| SMILES = }}
| Section2 = {{Chembox Properties
| Formula = แปรผันได้
| MolarMass = แปรผันได้
| Appearance = ผงสีขาว
| Density =
| MeltingPt =
| BoilingPt =
| Solubility = }}
| Section3 = {{Chembox Hazards
| MainHazards =
| NFPA-H = 1
| NFPA-F = 1
| NFPA-R = 0
| FlashPt =
| Autoignition = }}
}}
'''อะไมโลส''' เป็น[[พอลิเมอร์]]เชิงเส้นที่ประกอบขึ้นจากหน่วยดี-[[กลูโคส]] [[พอลิแซ็กคาไรด์]]ชนิดนี้เป็นหนึ่งในสององค์ประกอบของ[[แป้ง (อาหาร)|แป้ง]] ประมาณ 20-30% ของโครงสร้าง อีกองค์ประกอบหนึ่ง คือ [[อะไมโลเพกติน]]ซึ่งมี 70-80% ของโครงสร้าง<ref>http://www.gmo-compass.org/eng/glossary/</ref>
 
ด้วยโครงสร้างที่ห่อแน่น อะไมโลสจึงทนทานต่อการย่อยมากกว่าโมเลกุลแป้งชนิดอื่น ฉะนั้น จึงเป็นรูปของแป้งที่ทนต่อการย่อย (resistant starch) ที่สำคัญ และพบว่าเป็น[[พรีไบโอติก]] (prebiotic) ที่มีประสิทธิภาพ<ref>http://www.healthyeatingclub.org/info/articles/nutrients/resisstarch.htm</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:พอลิแซ็กคาไรด์]]
 
[[en:Amylose]]