ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:การพิสูจน์ยืนยันได้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
{{nutshell|ผู้อ่านต้องสามารถตรวจสอบได้ว่าบทความวิกิพีเดียมิได้ถูกปลอมขึ้น หมายความว่า ข้อกล่าวหาและเนื้อหาใด ๆ ที่ถูกคัดค้านหรือมีแนวโน้มจะถูกคัดค้านต้องมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลตีพิมพ์ที่น่าเชื่อถือโดยใช้การอ้างอิงในบรรทัด}}
{{กล่องนโยบาย}}
'''การพิสูจน์ยืนยันได้''' ในวิกิพีเดีย หมายความว่า ผู้ที่อ่านและแก้ไขวิกิพีเดียสามารถตรวจสอบได้ว่าข้อสนเทศสารสนเทศมาจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ เนื้อหาของวิกิพีเดียกำหนดโดยข้อโดยสารสนเทศที่ผ่านการตีพิมพ์มาแล้วมากกว่าความเชื่อหรือประสบการณ์ของผู้เขียน แม้คุณจะมั่นใจว่าข้อมูลบางอย่างเป็นจริง ข้อมูลนั้นก็ต้องพิสูจน์ยืนยันได้ก่อนที่คุณจึงจะสามารถเพิ่มเข้ามาในวิกิพีเดีย ("การพิสูจน์ยืนยันได้ ไม่ได้หมายความว่าต้องเป็นจริง")
 
เนื้อหาทั้งหมดในเนมสเปซหลัก ซึ่งรวมถึงทุกอย่างในบทความ รายชื่อและคำบรรยายใต้ภาพ ต้องพิสูจน์ยืนยันได้ ข้อกล่าวอ้างและเนื้อหาใด ๆ ที่การพิสูจน์ยืนยันได้ถูกคัดค้านหรือมีแนวโน้มว่าจะถูกคัดค้าน ต้องมีการอ้างอิงในบรรทัด (inline citation) ที่สนับสนุนเนื้อหานั้นโดยตรง เนื้อหาใดที่ต้องมีแหล่งข้อมูลแต่กลับไม่มีอาจถูกนำออกได้ โปรดนำเนื้อหาที่มีข้อพิพาทและไม่มีการอ้างอิงแหล่งที่มาเกี่ยวกับ[[WP:BLP|บุคคลที่มีชีวิตอยู่]]ออกทันที
 
สำหรับรูปแบบการเขียนอ้างอิง ดูที่ [[WP:CITE|การอ้างอิงแหล่งที่มา]] การพิสูจน์ยืนยันได้เป็นหนึ่งในนโยบายแกนกลางด้านเนื้อหาของวิกิพีเดีย เช่นเดียวกับ[[WP:NOR|งดงานค้นคว้าต้นฉบับ]]และ[[WP:POV|มุมมองที่เป็นกลาง]] ซึ่งนโยบายเหล่านี้ทั้งสามร่วมกันกำหนดประเภทและคุณภาพของแหล่งข้อมูลที่ยอมรับให้ใช้อ้างอิงเนื้อหาในบทความได้ นโยบายเหล่านี้ไม่ควรตีความแยกกัน และฉะนั้นผู้แก้ไขเขียนควรจะทำให้คุ้นเคยกับหลักทำความเข้าใจข้อสำคัญของนโยบายทั้งสามนี้ดังกล่าว นอกจากนี้บทความจะยังต้องเป็นไปตาม[[วิกิพีเดีย:ลิขสิทธิ์|นโยบายด้านลิขสิทธิ์]]
 
== เมื่อใดที่แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือจำเป็น ==