ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ค่าปฏิกรรมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 7:
|-
! align=center | เหตุการณ์
! align=center | มาร์กทองคำ<br>เยอรมัน<br/>(พันล้าน)
! align=center | มาตรฐานทองคำ<br/>ดอลลาร์สหรัฐ<br/>(พันล้าน)
|-
| คณะกรรมการค่าปฏิกรรมสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตร<br>ค.ศ. 1921
| align=center | 269,000
| align=center | 64.0,000
|-
| [[แผนการยัง]]<br>ค.ศ. 1929
| align=center | 112 ,000
| align=center | 26.6,600
|-
| [[การประชุมโลซาน ค.ศ. 1932|การประชุมโลซาน]]<br>ค.ศ. 1932
| align=center | &nbsp;20,000
| align=center | &nbsp;4.8,800
|}
ได้มีการโต้เถียงกันอย่างกว้างขวางเกี่ยวกับความยุติธรรมและผลกระทบจากการเรียกค่าปฏิกรรมสงครามทั้งก่อนและหลังการลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายและสนธิสัญญาอื่น ๆ ในปี [[ค.ศ. 1919]] โดยที่โด่งดังที่สุด [[จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์]] ซึ่งเป็นผู้แทนของกระทรวงการคลังอังกฤษในที่ประชุมปารีสได้ลาออกจากตำแหน่งในเดือนมิถุนายน เพื่อเป็นการประท้วงต่อการเรียกเก็บค่าปฏิกรรมสงครามจำนวนมหาศาล และได้มีการประท้วงกันอย่างกว้างขวางในหนังสือขายดีเรื่อง ''The Economic Consequences of the Peace''<ref>Markwell, Donald, ''John Maynard Keynes and International Relations: Economic Paths to War and Peace'', Oxford University Press, 2006.</ref>