ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขันที"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
YFdyh-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: ro:Eunuc
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:1749 eunuch.jpg|thumb|ภาพเขียนยูนุกในยุโรป ปี 1749]]
'''ขันที''' ใน[[พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน]] พ.ศ. 2542 หมายถึง ชายที่ถูกตอน บางประเทศทางเอเชียสมัยโบราณใช้สำหรับควบคุมฝ่ายใน ใน[[ภาษาจีน]]เรียกว่า ไท้เจี๋ยน หรือไท้ก๋ำ ใน[[ภาษาละติน]]และอาหรับเรียกว่ายูนุก (Eunuch) โดยมีรากศัพท์มาจาก[[ภาษากรีก]]คำว่า ยูโนคอส (eunouchos) แปลว่าผู้ดูแลรักษาเตียง<ref>จุฬิศพงศ์ จุฬารัตน์. "ขันทีแขกในราชสำนักอยุธยา," ใน ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 (เมษายน 2543), น.66-73.</ref> ส่วนชนชาติมอญเรียกขันทีว่า กมนุย (อ่านว่า ''ก็อมนอย'') แปลว่า ขันทีที่ปราศจากความรู้สึกทางเพศ
 
== ต้นกำเนิด ==
บรรทัด 9:
ใน[[เปอร์เซีย]]และไบแซนไทน์ในช่วงที่มุสลิมเรืองอำนาจ พวกเขาได้รับเอายูนุกเข้ามาด้วย ดังปรากฏในราชสำนักจักรวรรดิ[[มุสลิม]]ในคริสต์ศวรรษที่ 16-18 อย่าง[[ออตโตมาน-เติร์ก]] (Ottoman-Turk) [[ซาฟาวี]] (Safavids) ของอิหร่านและ[[โมกุล]] (Mughal) ของ[[อินเดีย]] โดยจักรวรรดิทั้ง 3 ได้รับการยกย่องว่าเป็นราชสำนักที่เจริญรุ่งเรืองเช่นเดียวกับราชสำนักจีน
 
=== ประเภทของขันที ===
== จีน ==
ขันทีนั้น มีอยู่สองประเภท<ref>[http://www.matichon.co.th/youth/youth.php?tagsub=031101&tag950=03you30170836&show=1 ขันที คอลัมน์ รู้ไปโม้ด]</ref>
* '''ถูกตอนโดยตัดแค่ปลายองคชาตเท่านั้น''' ยังเหลือพวง[[อัณฑะ]]อยู่ ขันทีประเภทนี้ ยังเหลือ[[ฮอร์โมนเพศชาย]]อยู่มากมาย เสียงยังห้าวแบบชาย และจะได้อนุญาตให้ปฏิบัติภารกิจหน้าที่การงานได้เฉพาะเขตพระราชฐานชั้นนอกเท่านั้น
* '''ถูกตอนโดยตัดทิ้งทั้งพวง''' เสียงจะแหลมเล็ก [[ลูกกระเดือก]]หายไป ฮอร์โมนเพศชายหมดไป พวกนี้จะได้รับความไว้ใจสูงกว่า และสามารถปฏิบัติงานในเขตพระราชฐานชั้นใน
 
== ขันทีจำแนกตามประเทศ ==
=== จีน ===
[[ไฟล์:Khantee.jpg|thumb|250px|ขันทีจีนยุคสุดท้ายแห่งราชสำนักชิง]]
ขันทีในจีนจะเรียกว่า หรือ'''หวงกวน''' ({{lang-zh|宦官}}; [[พินอิน]]: ''huànguān'') '''ไท่เจี้ยน''' ({{lang-zh|太监}}; [[พินอิน]]: tàijiā''Tàijiàn'') ทำงานหลายอย่างที่สตรีเพศทำไม่ได้ ในพระราชวังในจีนมีหน้าที่ควบคุมนางในฝ่ายพระราชฐาน และบางครั้งจะขับลำนำถวาย[[ฮ่องเต้]]ก่อนเข้าที่บรรทม นอกจากเรื่องทางโลกแล้ว ขันทียังมีหน้าที่เป็นคณะที่ปรึกษาให้กับฮ่องเต้ในการปกครองบ้านเมือง ซึ่งในบางยุคสมัยก็เป็นเพราะขันทีที่เอาแต่ปรนเปรอฮ่องเต้จนบ้านเมืองอ่อนแอ ไร้เสถียรภาพจนนำมาสู่การล่มสลายของบ้านเมือง เช่น [[ยุคสามก๊ก]] หรือ ปลาย[[ราชวงศ์หมิง]] หรือ ปลาย[[ราชวงศ์ชิง]] เป็นต้น<ref>[http://www.okls.net/thaijeen14.html “ ขันที ” ตราบาปของแผ่นดินจีน]</ref>
 
เริ่มมีมาตั้งแต่สมัยราชวงศ์ยิน (1,324 –1,066 ปี ก่อนคริสต์ศักราช เป็นชื่อเรียกของ[[ราชวงศ์ซาง]] หลังย้ายเมืองหลวงไปเมืองยิน ซึ่งปัจจุบันคือเมืองอันหยัง ใน[[มณฑลเหอหนาน]]) จากหลักฐานบนกระดองเต่ามีตัว[[หนังสือจีนโบราณ]]อยู่ตัวหนึ่ง ซึ่งหมายถึง 'การตัด[[องคชาต]]' และ คำว่า ‘羌 ’(อ่านว่าเชียง) บน[[กระดองเต่า]]กล่าวไว้ว่า อู่ติงหวัง จักรพรรดิแห่งราชวงศ์ยิน (1,254 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ได้มีรับสั่งให้ตัด[[อวัยวะเพศ]]ของหนุ่มชาวเชียง ที่ถูกจับมาเป็น[[เชลย]] และให้นำตัวไปเป็นขันที ทำหน้าที่ประกอบพิธีกรรมต่างๆ
เส้น 19 ⟶ 25:
ต่อมาในสมัยกวงบู๊ ค่านิยมเปลี่ยนไป ผู้ชายที่รับใช้ในวังต้องเป็นขันที ถือว่าเป็นคนที่มีหน้ามีตามาก พอถึงยุคสมัย[[ราชวงศ์สุย]] ทางการยกเลิกโทษการตอน ดังนั้นคนที่เป็นขันทีต้องตอนตัวเอง
 
ในสมัย[[ราชวงศ์หมิง]]และ[[ราชวงศ์ชิง|ชิง]] ([[ค.ศ. 1644]]-[[ค.ศ. 1911|1911]]) สองราชวงศ์สุดท้ายของจีน กลับมีชายหนุ่มจำนวนไม่น้อย สมัครใจเข้าเป็นขันที ส่วนมากมีสาเหตุมาจากความยากจน โดยขันทีคนสุดท้ายของจีน คือ [[ซุนเหย้าถิง]] เขาเกิดในรัชสมัยของจักรพรรดิกวางสู่ (ค.ศ. 1875-1908) แห่งราชวงศ์ชิง<ref>[http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9470000080149 “ขันที” ผู้ชายที่โลกลืม ]</ref>
 
=== ไทย ===
=== ประเภทของขันที ===
ในไทยเราประเทศไม่พบหลักฐานที่เกี่ยวข้องโดยตรง แต่มีร่องรอยที่ทำให้เห็นว่ามีขันทีในเมืองสหรัฐอเมริกา มาก่อนโดยในสมัย[[อยุธยา]]เรียกขันทีว่า '''นักเทษขันที''' (บางครั้งบ้างเขียนว่า ''นักเทศขันทีก็มี'') นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ให้ความเห็นว่า ''นักเทษ'' และ ''ขันที'' คงเป็นขุนนางชายที่ถูกตอนเหมือนกัน มีเพียง ดร. วินัย พงศ์ศรีเพียร อธิบายไว้ว่า คือฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ''นักโทศเทษ'' (นักเทศ) นั้นรับราชการฝ่ายขวา ส่วนอีกฝ่ายที่เรียกว่า ''ขันที'' นั้นรับราชการฝ่ายซ้าย มีข้อสันนิษฐานว่าพระมหากษัตริย์ไทยสมัยโบราณให้ขันทีอยู่ในสังกัดของฝ่ายใน และไม่ทรงเปิดโอกาสให้นักเทษขันทีมีส่วนร่วมในราชการฝ่ายหน้า<ref name="เทษ">วินัย ศรีพงศ์เพียร. ''[http://www.gotoknow.org/blog/thaikmposts/151017 กะเทย / บั๊ณเฑาะก์ / ขันที / นักเทษ ]'' gotoknow.org สืบค้นเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2556</ref> และนักเทษขันทีคงดำรงอยู่จนสิ้น[[กรุงศรีอยุธยา]]<ref name="เทษ"/> และภายหลังถูกยกเลิกลงในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]แห่ง[[ราชวงศ์จักรี]]<ref name="เทษ"/>
ขันทีนั้น มีอยู่สองประเภท<ref>[http://www.matichon.co.th/youth/youth.php?tagsub=031101&tag950=03you30170836&show=1 ขันที คอลัมน์ รู้ไปโม้ด]</ref>
* '''ถูกตอนโดยตัดแค่ปลายองคชาตเท่านั้น''' ยังเหลือพวง[[อัณฑะ]]อยู่ ขันทีประเภทนี้ ยังเหลือ[[ฮอร์โมนเพศชาย]]อยู่มากมาย เสียงยังห้าวแบบชาย และจะได้อนุญาตให้ปฏิบัติภารกิจหน้าที่การงานได้เฉพาะเขตพระราชฐานชั้นนอกเท่านั้น
* '''ถูกตอนโดยตัดทิ้งทั้งพวง''' เสียงจะแหลมเล็ก [[ลูกกระเดือก]]หายไป ฮอร์โมนเพศชายหมดไป พวกนี้จะได้รับความไว้ใจสูงกว่า และสามารถปฏิบัติงานในเขตพระราชฐานชั้นใน
 
ดร. วินัย พงศ์ศรีเพียร ได้สันนิษฐานเกี่ยวกับที่มาของคำว่า "ขันที" ว่าน่าจะมาจากคำว่า "ขณฺฑ" ใน[[ภาษาสันสกฤต]] ซึ่งมีความหมายว่า "ทำลาย" และกินความหมายไปถึง “ไม่สมบูรณ์, ขาดหายไป, ทำลายหรือตัดออกเป็นชิ้น”<ref name="เทษ"/> และคนไทยได้แผลงคำว่า ''ขณฺฑ'' เป็น ''ขณฺฑี'' ในการเขียน<ref name="เทษ"/>
== ไทย ==
ในไทยเราไม่พบหลักฐานที่เกี่ยวข้องโดยตรง แต่มีร่องรอยที่ทำให้เห็นว่ามีขันทีในเมืองสหรัฐอเมริกา โดยในสมัย[[อยุธยา]]เรียกขันทีว่า นักเทษขันที (บางครั้งเขียนว่า นักเทศขันทีก็มี) นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ให้ความเห็นว่า นักเทษ และ ขันที คงเป็นขุนนางชายที่ถูกตอนเหมือนกัน มีเพียง ดร. วินัย พงศ์ศรีเพียร อธิบายไว้ว่า คือฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า นักโทศ (นักเทศ) นั้นรับราชการฝ่ายขวา ส่วนอีกฝ่ายที่เรียกว่า ขันที นั้นรับราชการฝ่ายซ้าย มีข้อสันนิษฐานว่าพระมหากษัตริย์ไทยสมัยโบราณไม่ทรงเปิดโอกาสให้นักเทษขันทีมีส่วนร่วมในราชการฝ่ายหน้า<ref>[http://gotoknow.org/blog/thaikm/151017 กะเทย / บั๊ณเฑาะก์ / ขันที / นักเทษ ] gotoknow.org</ref>
 
=== พม่า ===
==เกาหลี==
ในพม่าและยะไข่ ขันทีจะมีหน้าที่ในการดูและฝ่ายในและจำทูลพระราชสาสน์<ref name="เทษ"/> นอกจากนี้ชาวมอญก็มีคำเรียกขันทีว่า '''กมฺนุย''' (อ่านว่า ''ก็อมนอย'') แปลโดยศัพท์ว่า "ขันทีที่ปราศจากความรู้สึกทางเพศ"<ref name="เทษ"/>
ในประเทศเกาหลี ได้มีประเพณีการตอนเป็นขันทีเช่นเดียวกัน นักวิชาการได้สันนิษฐานไว้ว่า เริ่มต้นมาตั้งแต่สมัยยุคอาณาจักรซิลลาที่ได้รับวัฒนธรรมจากจีนสมัย[[ราชวงศ์ถัง]] หลังจากนั้นต่อมาราชวงศ์[[โครยอ]]และราชวงศ์[[โชซ็อน]]ก็ได้ยึดถือประเพณีนี้เช่นกัน ในช่วงรัชสมัยอาณาจักรโชซอนเกาหลีตอนต้น ได้มีหกขันทีที่มีชื่อเสียงที่มีชื่อเสียงที่สุดในประวัติศาสตร์ของเกาหลี อันได้แก่
 
=== เกาหลี ===
ในประเทศเกาหลี ได้มีประเพณีการตอนเป็นขันทีเช่นเดียวกัน โดยเรียกว่า '''แนซี''' ({{lang-ko|내시, 內侍}}) นักวิชาการได้สันนิษฐานไว้ว่า เริ่มต้นมาตั้งแต่สมัยยุคอาณาจักรซิลลาที่ได้รับวัฒนธรรมจากจีนสมัย[[ราชวงศ์ถัง]] หลังจากนั้นต่อมาราชวงศ์[[โครยอ]]และราชวงศ์[[โชซ็อน]]ก็ได้ยึดถือประเพณีนี้เช่นกัน ในช่วงรัชสมัยอาณาจักรโชซอนเกาหลีตอนต้น ได้มีหกขันทีที่มีชื่อเสียงที่มีชื่อเสียงที่สุดในประวัติศาสตร์ของเกาหลี อันได้แก่
1. [[ออมจาชิ]] (Eom Jachi, 엄자치1363~1452)ซึ่งกลายเป็นใต้เท้าโนในเรื่อง The King and I และน่าเชื่อว่าท่านเคยเป็นหัวหน้ามหาดเล็กสูงสุดมาก่อนด้วย
เส้น 45 ⟶ 51:
 
หลังจากเวลาผ่านไปจนถึงรัชสมัย[[สมเด็จพระจักรพรรดิควางมูแห่งจักรวรรดิเกาหลี]]หรือพระเจ้าโกจง จักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้ายึดครองดินแดนเกาหลีและได้ทำการล้มล้างสถาบันกษัตริย์ ประเพณีขันทีก็ได้ถูกยกเลิกไป แม้ในปัจจุบันราชวงศ์โซซอนจะยังหลงเหลืออยู่ในประเทศเกาหลีใต้ ประเพณีนี้ก็ไม่เคยฟื้นฟูอีกเลย
 
=== เวียดนาม ===
ในยุค[[ราชวงศ์จาง]] ({{lang-vi|Nhà Trần}}; ''陳朝'') ได้ทำการส่งขันทีเด็กชาวเวียดนามเป็นเครื่องบรรณาการแก่จีนในยุค[[ราชวงศ์หมิง]] ในปี [[พ.ศ. 1926]], [[พ.ศ. 1927|1927]] และ [[พ.ศ. 1928|1928]]<ref>Tsai (1996), p. 15 {{Google books|Ka6jNJcX_ygC|The Eunuchs in the Ming Dynasty (Ming Tai Huan Kuan)|page=15}}</ref> และมีหลักฐานสำคัญเกี่ยวกับการดำรงอยู่ของขันทีในดีต จากบทกวีวิพากษ์วิจารณ์เหล่าขุนนาง ซึ่งถูกรจนาโดยกวีหญิง [[โห่ ซวน เฮือง]] ({{lang-vi|Hồ Xuân Hương}}; ''胡春香'') อันปรากฏเนื้อความตอนหนึ่งล้อเลียนเหล่าขันที<ref>Chandler (1987), p. 129 {{Google books|jzUz9lKn6PEC|In Search of Southeast Asia: A Modern History|page=129}}</ref>
 
=== อินโดนีเซีย ===
ในยุคก่อนรับ[[ศาสนาอิสลาม]] อินโดนีเซียเคยมีขันทีคอยรับใช้ในวงศ์กษัตริย์ชวาซึ่งนับถือ[[ศาสนาฮินดู]]-[[ศาสนาพุทธ|พุทธ]] กล่าวกันว่ากษัตริย์ชวาทรงมีพระมเหสีและนางห้ามเป็นจำนวนมาก จึงมีขันทีซึ่งแต่งกายแบบหญิงนับพันคอยถวายงานรับใช้<ref>ทวีศักดิ์ เผือกสม. ''ชุด "อาเซียน" ในมิติประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์อินโดนีเซีย:รัฐจารีตบนหมู่เกาะ ความเป็นสมัยใหม่แบบอาณานิคม และสาธารณรัฐแห่งความหลากหลาย''. กรุงเทพฯ:เมืองโบราณ. 2555, หน้า 42</ref>
 
=== ออตโตมัน ===
{{โครงส่วน}}
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ขันที"