ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนธิสัญญา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต เพิ่ม: jv:Prajanjèn Internasional
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ= |สำหรับ= |ดูที่=ข้อตกลงระหว่างประเทศ (แก้ความกำกวม) |เปลี่ยนทาง=}}
'''สนธิสัญญา''' ({{lang-en|Treaty}}, {{lang-fr|Traité}}) เป็นข้อตกลงเฉพาะหน้าภายใต้[[กฎหมายระหว่างประเทศ]]ซึ่งเข้าทำสัญญาโดยตัวแสดงในกฎหมายระหว่างประเทศ ได้แก่ [[รัฐเอกราช]]และ[[องค์การระหว่างประเทศ]] สนธิสัญญาอาจรู้จักกันในชื่อ '''ความตกลง พิธีสาร กติกา อนุสัญญา''' เป็นต้น แต่ไม่ว่าจะเรียกอย่างไร รูปแบบความตกลงทั้งหมดเหล่านี้ถือว่าเป็นสนธิสัญญาเท่าเทียมกันและมีหลักเกณฑ์เดียวกันภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ
'''สนธิสัญญา''' ({{lang-en|Treaty}} หรือ {{lang-fr|Traité}}) คือข้อสัญญาหรือข้อตกลงที่ได้กระทำระหว่าง 2 [[รัฐ]]ขึ้นไป เมื่อทำสนธิสัญญาแล้ว ภายใน[[ประเทศ]]ของคู่สัญญา อาจต้องมีการออกกฎหมายใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับสนธิสัญญานั้น ๆ สนธิสัญญาที่เป็นที่รู้จักกันดีเช่น [[สนธิสัญญาแวร์ซายส์ (1919)|สนธิสัญญาแวร์ซายส์]] หรือ[[สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก]] เป็นต้น ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการนำจารีตประเพณีระหว่างประเทศมีตราขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร
 
สนธิสัญญาสามารถเปรียบได้หลวม ๆ กับสัญญา ทั้งสองต่างเป็นวิธีการที่ภาคีที่สมัครใจยอมรับพันธกรณีต่อกัน และภาคีซึ่งไม่สามารถยึดพันธกรณีสามารถรับผิดได้ภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ
กฎหมายระหว่างประเทศที่กำหนดและควบคุมการทำสนธิสัญญาในปัจจุบันคือ อนุสัญญากรุงเวียนนา ว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ.1969 ซึ่งได้ให้ความหมายของสนธิสัญญาไว้ดังนี้
 
1.เป็นข้อตกลงที่ทำขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร
 
2.เป็นข้อตกลงที่ทำขึ้นระหว่างรัฐตั้งแต่2รัฐขึ้นไป
 
3.ข้อตกลงดังกล่าวต้องบังคับตามกฎหมายระหว่างประเทศ
 
4.อาจมีหนึ่งฉบับหรือหลายฉบับ หรือมีชื่อเรียกเป็นอย่างใดก็ได้(เช่น พิธีสาร กฎบัตร ปฏิญญา กติกา อนุสัญญา)
 
5.ก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่ระหว่างภาคี การไม่ปฏิบัติตามสนธิสัญญาถือเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ
 
สนธิสัญญาที่มีภาคีซึ่งอาจเป็นรัฐหรือองค์กรระหว่างประเทศอื่นๆ2ฝ่าย เรียกว่า สนธิสัญญาทวิภาคี หากว่ามีคู่สัญญา3ฝ่ายหรือกว่านั้นขึ้นไปเรียกว่า สนธิสัญญาพหุภาคี และสนธิสัญญายังมีทั้งประเภทสัญญาที่บังคับใช้ระหว่างภาคีจนถึงประเภทกฎหมายที่บังคับใช้ทั่วไปเช่น ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.1949 อีกด้วย
 
การทำสนธิสัญญามีขั้นตอนการทำโดยทั่วไป3ขั้นตอน คือ การเจรจา การลงนาม การให้สัตยาบัน ซึ่งสนธิสัญญาแบบย่อจะมีความสมบูรณ์นับแต่ลงนาม อย่างไรก็ดี ในประเทศไทย การให้สัตยาบันสนธิสัญญาบางเรื่องต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาก่อน ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 190
== ดูเพิ่ม ==
* [[ข้อตกลงระหว่างประเทศ (แก้ความกำกวม)|ประเภทของข้อตกลงระหว่างประเทศ]]
* [[สัญญา (นิติศาสตร์)|สัญญา]]
* [[ปฏิญญา]]
* [[พิธีสาร]]
 
{{ข้อตกลงระหว่างประเทศ}}