ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชกุมารี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:AnneWindsor.JPG|thumb|right|210px|[[เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี]]พระองค์ปัจจุบัน]]
'''ราชกุมารี'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่ : ยุโรป เล่ม ๓ อักษร E-G'', กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2543, หน้า 30.</ref> ({{lang-en|The Princess Royal}}<ref>The Royal Family: Royal Titles. "[http://web.archive.org/web/20080727135946/http://www.royal.gov.uk/output/Page5660.asp Style and Title of the Princess Royal]." - Royal.gov.uk Retrieved 16 June 2008.</ref>) เป็นพระอิสริยยศตามราชประเพณี (แต่ไม่เป็นแบบอัติโนมัติอัตโนมัติ) ซึ่งพระมหากษัตริย์พระราชทานแก่พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ที่สุด พระอิสริยยศนี้ดำรงอยู่ตลอดพระชนม์ชีพของเจ้าหญิงพระองค์นั้น ดังนั้นจึงไม่สามารถที่จะสถาปนาเจ้าหญิงพระองค์อื่นให้เป็นราชกุมารีอีกพระองค์ได้ (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2]] ไม่เคยเป็นดำรงตำแหน่งราชกุมารีเลย) จวบจนถึงปัจจุบันนี้ได้มีราชกุมารีมาแล้วทั้งสิ้น 7 พระองค์<ref>"[http://www.royal.gov.uk/ThecurrentRoyalFamily/ThePrincessRoyal/ThePrincessRoyal.aspx "The Princess Royal], The British Monarchy". Royal.gov.uk. ''(Retrieved 2010-01-12.)</ref> <ref>[http://www.heraldica.org/faqs/britfaq.html#p2-34 35. Who were the princesses who bore the style "Princess Royal"?]</ref> โดยพระองค์ล่าสุดคือ [[เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี]]
 
พระอิสริยยศนี้เกิดขึ้นเมื่อ[[เฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ|สมเด็จพระราชินีเฮนเรียตตา มาเรีย]] ([[พ.ศ. 2252]] - [[พ.ศ. 2312]]) พระราชธิดาใน[[พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส]] และพระมเหสีใน[[สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ]] มีพระประสงค์ที่จะเลียนแบบการสถาปนาพระอิสริยยศ "Madame Royale" ให้กับพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ของกษัตริย์ฝรั่งเศส พระอิสริยยศนี้จะต้องได้รับพระบรมราชานุญาต (Royal Warrant) ไม่ใช่สถาปนาจากพระราชสัญญาบัตร (Letters Patent) และไม่ได้พระราชทานแก่พระราชธิดาพระองค์ใหญ่โดยอัติโนมัติ หากแต่จะเป็นการแต่งตั้งจากพระราชวินิจฉัยของพระมหากษัตริย์