ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความน่าสะพรึงกลัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ความสยดสยอง: โปรแกรม?
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''สมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''สารานุกรมประเทศในทวีปยุโรป ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', ราชบัณฑิตยสถาน, 2550, หน้า 195</ref> ({{lang-en|The Reign of Terror}}; [[5 กันยายน]] [[พ.ศ. 2336]] 1783[[28 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2337]] 1794) ในบางครั้งหรือที่เรียกในภาษาอังกฤษสั้นๆ ว่า '''The Terror''' (ฝรั่งเศส: ''la Terreur'') หมายถึงช่วงระยะเวลาประมาณ 10 เดือนเป็นสมัยแห่งความรุนแรงที่เกิดขึ้นในการหลัง[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]เริ่มต้น โดยถูกกระตุ้นจากการพยายามต่อสู้กันความขัดแย้งระหว่างกลุ่มแยกทางการเมืองที่เป็นคู่แข่งสองฝ่ายซึ่งได้นำไปสู่ความรุนแรงด้วยการฆาตกรรมหมู่ด้วยกัน คือ [[กิโยตินฌีรงแด็ง]] ส่วนใหญ่จะโยงถึง(Girondins) บุคคลคือและ[[มักซีฌากอแบ็ง]] (Jacobins) ซึ่งมีเลียงการประหารชีวิต รอแบ็สปีแยร์"ศัตรูแห่งการปฏิวัติ" จำนวนมาก ยอดผู้เสียชีวิตอยู่ในหลักหมื่น โดยมีผู้ถูกประหารชีวิตด้วย[[กีโยติน]] 16,594 คน และอีก 25,000 คน ถูก[[ฌอร์ฌ ด็องตงการประหารชีวิตอย่างรวบรัด|ประหารชีวิตอย่างรวบรัด]] ซึ่งกลายเป็นตัวแทนหรือสัญลักษณ์ของการปฏิวัติที่รุนแรงทั่วๆ ไปทั่วฝรั่งเศส
 
'''ความน่าสะพรึงกลัว'''ได้เริ่มเมื่อวันที่ [[5 กันยายน]] [[พ.ศ. 2336]] ซึ่งตรงกับรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] การปราบปรามอย่างรุนแรงเพิ่มเริ่มขึ้นในระหว่างเดือนมิถุนายนและกรกฎาคม [[พ.ศ. 2337]] ซึ่งถูกเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า "''la Grande Terreur''" หรือความน่าสะพรึงกลัวอย่างที่สุด (The Great Terror) ซึ่งยืนยาวต่อเนื่องไปจนถึงการประหารชีวิตตัวการแห่งยุคแห่งความเหี้ยมโหดเองหลายคนรวมทั้ง Saint-Just และ [[มักซีมีลียอง โรแบสปีแยร์|Maximilien Robespierre]] ความโหดเหี้ยมโหดของยุคนี้คร่าชีวิตคนไประหว่าง 18,000 ถึง 40,000 คน (ประมาณการอย่างกว้างๆ เนื่อจากมีความแตกต่างกันระหว่างบันทึกทางประวัติศาสตร์ การประมาณการเชิงสถิติ) ในเดือนสุดท้ายก่อนการยุติ มีผู้ถูกประหารมากถึง 1,900 คน[[ไฟล์:Georges Danton.jpg|thumb]]
 
หลายคนถือว่าความเหี้ยมโหดในระบอบการปกครองแบบ[[ทรราช]]ในปัจจุบันสืบเนื่องมาจาก ยุคแห่งความเหี้ยมโหดครั้งนี้ แต่หลายคนก็โต้เถียงว่าแนวคิดดังกล่าวนี้มองข้ามอิทธิพลของการปฏิวัติฝรั่งเศสมีผลให้เกิดความเฟื่องฟูของระบอบ[[ประชาธิปไตย]]และระบอบ[[รัฐธรรมนูญ]]