ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บีเยินส์จาเนอ บีเยินซ็อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
บียอนสตานเน มาร์ตินุส บียอร์นสัน
 
{{กล่องข้อมูล นักเขียน
[[รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม]] ประจำปี พ.ศ ๒๔๔๖
| name = บียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สัน [[ไฟล์:Nobel prize medal.svg|20px]]
| image = BjørnstjerneBjørnson.jpg
| imagesize = 200px
| caption =
| pseudonym =
| birth_date = [[8 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2375]]
| birth_place =
| death_date = [[26 เมษายน]] [[พ.ศ. 2453]]
| death_place =
| occupation = กวี นักประพันธ์ นักเขียนบทละคร
| nationality = นอร์เวย์
| father =
| mother =
| period =
| genre = บทละคร
| subject =
| movement =
| debut_works =
| notable_works =
| notable_awards = [[รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม]] ประจำปี [[ค.ศ. ๒๔๔๖1903]]
| influences =
| influenced =
| signature =
| website =
| footnotes =
}}
'''บียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สัน''' (Bjørnstjerne Martinus Bjørnson) ([[8 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2375]] - [[26 เมษายน]] [[พ.ศ. 2453]]) ชาว[[นอรเวย์]] เป็นทั้ง[[กวี]] [[นักเขียนบทละคร]] [[นวนิยาย]] [[นักหนังสือพิมพ์]] [[บรรณาธิการ]] [[ผู้กำกับการแสดง]]ละคร และบุคคลที่มีชื่อเสียงโดดเด่นที่สุดคนหนึ่งในยุคนั้นของนอร์เวย์ โดยเป็นที่รู้จักในฐานะหนึ่งในสี่ของผู้ยิ่งใหญ่แห่งวรรณกรรมนอร์เวย์ยุคนั้น อีกสามคนคือ [[เฮนริก อิบเซน]] (Henrik Ibsen) [[อเล็กซานเดอร์ คีลแลนด์]] (Alexander Kielland) และ[[โยนัส ไล]] (Jonas Lie) บทกวีของเขาชื่อ [[Ja, vi elsker dette landet]] (ใช่แล้ว เรารักแผ่นดินนี้) ยังถูกนำไปแต่งเป็น[[เพลงชาติ]]ของนอร์เวย์ด้วย. บียอร์สันได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม]] ประจำปี [[พ.ศ. 2446]] (ค.ศ. 1903)
 
บียอร์สเตียร์เน เกิดทางตอนเหนือของประเทศนอร์เวย์ บิดาเป็นบาทหลวง[[ลูเธอรัน]] มารดาเป็นบุตรสาวพ่อค้า เขาผละจาก[[มหาวิทยาลัย]]เมื่ออายุได้ 20 ปี เพื่อมุ่งหน้าทำงานทางด้านวัฒนธรรม โดยเริ่มจากการเป็น[[นักวิจารณ์ละครเวที]]เมื่ออายุได้ 26 ปีเขาแต่งงานกับ[[นักแสดง]] มีลูกสองคน ชีวิตการเขียนนวนิยายของเขามีอยู่สองช่วง งานช่วงแรกสมัยอายุยี่สิบตอนปลาย เป็นเรื่องของชีวิตชาวไร่ในชนบท ส่วนนวนิยายที่เขียนในวัยห้าสิบขึ้นไป กล่าวถึงประเด็นทางสังคมและการเมืองมากขึ้น ในยุครุ่งเรือง เขาเขียนบทละคร บทกวี และ[[บทความ]]ไว้จำนวนหนึ่ง ขณะเดียวกันก็เข้าไปเกี่ยวพันกับการต่อสู้ทางวัฒนธรรมและการเมือง อันทำให้เขาต้องถูกเนเทศกลายๆ ซ้ำซ้อนหลายคราว ในทางการเมือง เขาเปลี่ยนจากแนวคิด[[ชาตินิยม]]จัดมายึดหลัก[[สังคมนิยม]] โดยทำงานด้านการสร้างความสงบและความเข้าใจระหว่างประเทศ บียอร์สเตียร์เนต่างจากอิบเซนผู้เป็นสหาย เพราะเขาได้รับรางวัลโนเบลในปี พ.ศ. 2446 ทว่าชนรุ่นหลังกลับไม่คิดเช่นนั้น ในช่วงท้ายของชีวิตบียอร์สเตียร์เนเป็นอัมพาตครึ่งตัว และถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ [[26 เมษายน]] [[พ.ศ. 2453]] ที่[[ปารีส|กรุงปารีส]] [[ประเทศฝรั่งเศส]] ขณะอายุ 78 ปี
'''บียอนสตานเน มาร์ตินุส บียอนสัน''' (Bjørnstjerne Martinus Bjørnson) ชาวนอร์เวย์
เกิดวันที่ ๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๓๗๕ ที่ ควิดเน ทางตอนเหนือของเมือง ทีนเซ็ท ( Tynset ) มรณภาพวันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๓ เมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส
เขาเป็นทั้งกวี นักเขียนบทละคร นวนิยาย นักหนังสือพิมพ์ บรรณาธิการ และผู้อำนวยการโรงละครแห่งชาติ และเป็นผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบล สาขาวรรณกรรม
 
'''คำคม''' - Every joy you have you pay for with sorrow. (ทุกความสุขสันต์ ต้องชดใช้ด้วยความเศร้าโศก)
เอ็ดวาท บายเยอร์ นักภาษาศาสตร์ ชาวนอร์เวย์ ( พ.ศ ๒๕๑๘ ) กล่าวไว้ว่า
" เขาไม่ได้เป็นเพียงแค่นักบันทึกประวัติศาสตร์ แต่เป็นทั้งนักการเมืองในประวัติศาสตร์ และนักอนุรักษ์ศิลปะ วัฒนธรรม เรื่องราวของเขาไม่แตกต่างไปจากเรื่องของ กวี วากเกอร์ลาน ( Wegerland ) "
 
== ดูเพิ่ม ==
เขาเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงโดดเด่นที่สุดคนหนึ่งในยุคของกวีแห่งนอร์เวย์ นักเขียนอีกสามคนที่ยึดถือแนวเขียนของเขาคือ ริชาร์ด นอรรัค ( Rikard Nordraak )
* [[รายชื่อผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม]]
ฮาฟดอน เชรูฟ ( Halfdan Kjerulf ) และแอ็ทวาท กริก ( Edvard Greig ) บียอนสตานเน ได้ประพันธ์บทเพลงชาติของนอร์เวย์ ชื่อ Ja, vi elsker dette landet แปลว่า ใช่ เรารักแผ่นดินนี้
ทำนองเพลงประพันธ์โดย ริชาร์ด นอรรัค ชาวนอร์เวย์ประทับใจในเนื้อหาของเพลงนี้มาก
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
ในปี พ.ศ ๒๔๐๖ รัฐบาลนอรเวย์เริ่มให้เงินเดือนกวีอย่างเขา เขาได้รับเลือกให้เป็นศิลปินแห่งชาติคนแรกของประเทศนอร์เวย์ ในปี พ.ศ ๒๔๔๖ ซึ่งเป็นปีที่เขาได้รับรางวัลโนเบล สาขาวรรณกรรม
* [http://www.odin.dep.no/odin/engelsk/norway/history/032005-990483/index-dok000-b-n-a.html ประวัติในเว็บไซต์ของประทรวงต่างประเทศนอร์เวย์ ] (ภาษาอังกฤษ)
เขาเป็นผู้ก่อตั้งการสมคมภาษาศาสตร์ พร้อมกับนักเขียน เฮ็นริค อิบสัน ( Henrik Ibsen ) โจนาส ลี ( Jonas Lie ) และ อเล็กซานเดอร์ เชแลนด์ ( Alexander Kjelland )
'''เรื่องเล่าของชาวนา''' เป็นหนังสือรวมผลงานเรื่องสั้น ของเขาในวัยหนุ่ม
เป็นศิลปะการเขียนเรื่องที่ใส่ใจในรูปลักษณ์ และพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ โดยการดำเนินเรื่องที่เชื่อมโยงระหว่างอดีตและปัจจุบัน ในยุคนั้น
เรื่องเล่าของชาวนา มีแปดเรื่อง คือ ๑. นางสาว ซินโอเวอร์ ๒. เด็กชายสุขสันต์ ๓. นาย อาร์เน่ ๔. นาย ทรอน ๕. พ่อ ๖. การสู่ขออันน่ากลัว ๗. ม้า ๘. ความซื่อสัตย์
หนังสือเรื่อง เรื่องเล่าของชาวนานี้ได้ถูกแปลเป็นหลายภาษา เช่น ภ.อังกฤษ ภ.เยอรมัน ภ.เนเธอแลนด์ ภ.สวีเดน ภ.เดนมาร์ค ภ.สเปน
และ ภาษาไทย ( เรื่องเด็กชายสุขสันต์ แปลโดย แจ่มจันทร์ ลอราส )
 
=== ผลงานที่แปลเป็นภาษาไทย ===
* [http://www.wanakam.com/literature.asp?LiteratureID=37 ทางรถไฟและสุสาน (The railroad and the churchyard)] ความขัดแย้งระหว่างสาธารณประโยชน์กับความทะเยอทะยานส่วนตัว และอันตรายของการที่ผู้นำมุ่งพัฒนาอย่างไร้หลักการ โดยไม่คำนึงถึงสิ่งใด และพุ่งเป้าไปที่การยกฐานะอิทธิพลของตนเป็นใหญ่
* [http://www.wanakam.com/literature.asp?LiteratureID=120 บิดา (The father)] หัวอกผู้เป็นพ่อ
 
บทความนี้ นำข้อความบางส่วนหรือทั้งหมด มาจากเว็บไซต์ [http://www.wanakam.com วรรณกรรมดอตคอม] ซึ่งเจ้าของเว็บไซต์ดังกล่าว อนุญาตให้เผยแพร่ต่อได้ โดยไม่สงวนลิขสิทธิ์
 
{{รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม}}
 
{{เรียงลำดับ|บียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สัน}}
{{birth|1832}}{{death|1910}}
{{โครงชีวประวัติ}}
 
[[หมวดหมู่:นักเขียนชาวนอรเวย์]]
[[หมวดหมู่:ชาวนอร์เวย์]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม]]
{{Link GA|no}}
 
เส้น 31 ⟶ 61:
[[az:Byörnstyerne Byörnson]]
[[be:Б'ёрнсцернэ Б'ёрнсан]]
[[be-x-old:Б’ёрнстэрнэБ’ёрнсьцьернэ Б’ёрнсан]]
[[bg:Бьорнстерне Бьорнсон]]
[[bn:ইয়র্নস্টার্ন ইয়র্নসেন]]
เส้น 39 ⟶ 69:
[[da:Bjørnstjerne Bjørnson]]
[[de:Bjørnstjerne Bjørnson]]
[[diq:Bjørnstjerne Bjørnson]]
[[el:Μπιέρνστιερνε Μπιέρνσον]]
[[en:Bjørnstjerne Bjørnson]]
เส้น 49 ⟶ 78:
[[fr:Bjørnstjerne Bjørnson]]
[[fy:Bjørnstjerne Bjørnson]]
[[gd:BjørnstjerneBjornstjerne BjørnsonMartinus Bjornson]]
[[gl:Bjørnstjerne Bjørnson]]
[[he:ביירנסטרנה ביירנסון]]