ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารต้านอนุมูลอิสระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: ml:ആന്റിഓക്സിഡന്റ്; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Glutathione-3D-vdW.png|thumb|right|300px|Space-filling model of the antioxidant [[metabolomics|metabolite]] [[glutathione]]. The yellow sphere is the [[redox|redox-active]] sulfur atom that provides antioxidant activity, while the red, blue, white, and dark grey spheres represent oxygen, nitrogen, hydrogen, and carbon atoms, respectively.]]
'''สารต้านอนุมูลอิสระ''' คือโมเลกุลของสารที่สามารถจับกับตัวรับและสามารถยับยั้งปฏิกิริยาออกซิเดชันของโมเลกุลสารอื่นๆได้ ปฏิกิริยาออกซิเดชันเป็นปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวเนื่องกับการแลกเปลี่ยนอิเล็กตรอนจากสารหนึ่งไปยังตัวออกซิไดซ์ ปฏิกิรยาดังกล่าวสามารถให้ผลิตภัณฑ์เป็นสาร[[อนุมูลอิสระ]] (free radical) ซึ่งสารอนุมูลอิสระเหล่านี้จะเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่และทำลายเซลล์ของร่างกาย สารต้านอนุมูลอิสระจะเข้ายุติปฏิกิริยาลูกโซ่เหล่านี้ด้วยการเข้าจับกับสารอนุมูลอิสระและยับยั้งปฏิกิริยาออกซิเดชันโดยถูกออกซิไดซ์ ดังนั้นสารต้านอนุมูลอิสระจึงถือเป็นตัวรีดิวซ์ อาทิ [[ไธออล]] [[กรดแอสคอร์บิก]] และ[[โพลีฟีนอล]]<ref name="Sies" />
 
แม้ว่าปฏิกิริยาออกซิเดชันเป็นสิ่งสำคัต่อสิ่งมีชีวิต หากแต่ก็ยังเกิดโทษเช่นกัน ดังนั้นพืชและสัตว์จึงรักษาสมดุลด้วยระบบอันซับซ้อนของปฏิริยาโดยสารต้านอนุมูลอิสระดังชั่น[[กลูตาไธโอน]] [[วิตามินซี]] และ[[วิตามินอี]] เช่นเดียวกับเอนไซม์อย่างตัวเร่งปฏิกิรยาและเอนไซม์ซูเปอร์ออกไซด์ รวมถึงเพอรอกซิเดสต่างๆ ระดับสารต้านอนุมูลอิสระที่ต่ำหรือเอนไซม์ที่ยับยั้งปฏิกิริยาออกซิเดชันที่มากเกินไป จะยังผลให้เกิดภาวะออกซิเดชันที่มากเกินไป (oxidative stress) นำมาซึ่งการทำลายหรือสร้างความเสียหายแก่เซลล์ได้
บรรทัด 6:
ในภาวะที่ออกซิเดชันมากเกินไปจะทำให้เกิดโรคในมนุษย์หลายโรค การใช้สารต้านอนุมูลอิสระในทางเภสัชวิทยาได้รับการศึกษาอย่างละเอียดในการรักษาภาวะ[[โรคหลอดเลือดในสมอง]]และโรค neurodegenerative disease อย่างไรก็ดี ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัดว่าออกซิเดชันที่มากเกินไปนั้นเป็นสาเหตุการเกิดโรคหรือไม่
 
สารต้านอนุมูลอิสระถูกนำมาใช้เป็นส่วนผสมของ[[ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร]]หลายชนิด ด้วยคาดหวังในการรักษาสุขภาพและป้องกันโรคอย่าง[[โรคมะเร็ง]]และ[[โรคหลอดเลือดหัวใจ]] รวมไปถึง[[โรคกลัวความสูง]] แม้การศึกษาในช่วงแรกให้การสนับสนุนถึงการเติมสารต้านอนุมูลอิสระในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ช่วยให้สุขภาพดีนั้น ภายหลังการศึกษาในระยะคลินิกพบว่าสารที่เติมลงไปไม่ได้ช่วยหรือก่อให้เกิดประโยชน์อันใดแก่ผู้บริโภค ซ้ำยังผลมาซุ้งอันตรายจากการรับประทานที่มากเกินไป<ref>{{Cite journal| doi = 10.1093/qjmed/hcp026| pmid = 19273551| issn = 1460-2393| last = Baillie| first = J K| coauthors = A A R Thompson, J B Irving, M G D Bates, A I Sutherland, W Macnee, S R J Maxwell, D J Webb| title = Oral antioxidant supplementation does not prevent acute mountain sickness: double blind, randomized placebo-controlled trial| journal = QJM: Monthly Journal of the Association of Physicians| volume = 102| accessdate = 2009-03-25| issue = 5| pages = 341–8| date = 2009-03-09| url = http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/19273551}}</ref><ref>{{cite journal |author=Bjelakovic G |title=Mortality in randomized trials of antioxidant supplements for primary and secondary prevention: systematic review and meta-analysis |journal=JAMA |volume=297 |issue=8 |pages=842–57 |year=2007 |pmid=17327526 |doi=10.1001/jama.297.8.842 |last2=Nikolova |first2=D |last3=Gluud |first3=LL |last4=Simonetti |first4=RG |last5=Gluud |first5=C}}</ref> นอกจากนี้ยังมีการใช้สารต้านอนุมูลอิสระธรรมชาติใน[[เภสัชภัณฑ์]] และส่วนประกอบอื่นๆในผลิตภัณฑ์อุสาหกรรมเช่น[[สารกันบูด]]ในอาหารและเครื่องสำอาง และช่วยลดการสึกกร่อนของ[[ยาง]]และ[[แก๊สโซลีน]]อีกด้วย
 
== ประวัติ ==