ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5|หม่อมราชวงศ์สดับ ลดาวัลย์ คนอื่น|หม่อมราชวงศ์สดับ ลดาวัลย์}}
{{Infobox Person
 
| name = เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| image = [[ไฟล์:ม.ร.ว. สดับ2.jpg|246px]]
| สีพิเศษ = Mediumpurple
| caption =
| image = [[ไฟล์:ม.ร.ว. สดับ2.jpg|246px]]
| พระนามเต็มbirth_name = เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับสั้น ลดาวัลย์
| ประสูติbirth_date = [[6 มีนาคม|๖ มีนาคม]] [[พ.ศ. 2433|๒๔๓๓]]
| ฐานันดร = เจ้าจอม
| birth_place =
| ประสูติ = [[6 มีนาคม|๖ มีนาคม]] [[พ.ศ. 2433|๒๔๓๓]]
| สิ้นพระชนม์death_date = = [[3 มิถุนายน|๓ มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2526|๒๕๒๖]] (93 ปี)
| residence =
| พระอิสริยยศ = เจ้าจอมใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| nationality =
| พระชนก = หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์
| known_for =
| พระชนนี = หม่อมช้อย ลดาวัลย์
| employer =
| พระราชสวามี = [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| occupation =
| พระโอรส/ธิดา =
| height =
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี]]
| term =
| พระชนกparents = หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์<br>หม่อมช้อย ลดาวัลย์ ณ อยุธยา
| พระอิสริยยศspouse = เจ้าจอมใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| children =
| relatives =
| signature =
| website =
| footnotes =
}}
 
'''เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ลดาวัลย์''' ([[6 มีนาคม|๖ มีนาคม]] [[พ.ศ. 2433|๒๔๓๓]] - [[3 มิถุนายน|๓ มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2526|๒๕๒๖]]) เป็น[[เจ้าจอม]]คนรองสุดท้ายใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] (เจ้าจอมคนสุดท้ายคือ เจ้าจอมแส บุนนาค) นอกจากนั้นท่านยังเป็นคนสุดท้ายที่ได้ร้องเพลง '''นางร้องไห้''' และเจ้าจอมคนสุดท้ายของ[[ราชวงศ์จักรี]]ที่ยังดำรงชีพและเสียชีวิตในยุคปัจจุบันนี้
 
== ประวัติ ==
===วัยเยาว์===
เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ สดับ ลดาวัลย์ เกิดเมื่อวันที่ [[6 มีนาคม|๖ มีนาคม]] [[พ.ศ. 2433|พ.ศ. ๒๔๓๓]] เป็นธิดาใน '''หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์''' ซึ่งเป็นพระโอรสใน [[กรมหมื่นภูมินทรภักดี]] พระราชโอรสใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] กับหม่อมช้อย
 
เมื่อท่านมีอายุได้ ๑๑11 ปี หม่อมยายได้พาท่านไปถวายตัวเป็นข้าหลวงในตำหนัก [[พระวิมาดาเธอ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา]] ซึ่งพระองค์ได้ทรงอบรมเลี้ยงดูหม่อมราชวงศ์สดับในฐานะพระญาติ และยังโปรดให้เรียนหนังสือทั้ง [[ภาษาไทย]] [[ภาษาอังกฤษ]] รวมทั้งหัดงานฝีมือ ตลอดจนการอาหารคาวหวานจนเชี่ยวชาญ นอกจากความอัฉริยภาพและความงามแล้ว ความมีเสียงอันไพเราะของท่าน ยังเป็นคุณสมบัติที่โดดเด่นด้วย ดังใน บทพระราชนิพนธ์เงาะป่า ว่า
 
:::''"แม่เสียงเพราะเอย น้ำเสียงเจ้าเสนาะ เหมือนดังใจพี่จะขาด เจ้าร้องลำนำ ยิ่งซ้ำพิสวาท พี่ไม่วายหมายมาด รักเจ้าเสียงเพราะเอย"''
 
===ถวายตัว===
เมื่อวันที่ [[1 เมษายน|๑ เมษายน]] [[พ.ศ. 2449|พ.ศ. ๒๔๔๙]] หม่อมราชวงศ์สดับได้เข้าปฏิบัติหน้าที่เป็นเจ้าจอมใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] วันนี้ท่านได้รับพระราชทาน "กำไลมาศ" จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็น[[กำไล]]ทองคำแท้จาก[[บางสะพาน]] หนักสี่บาท ทำเป็นรูปตาปูโบราณสองดอกไขว้กัน ปลายตาปูเป็นดอกเดียวกัน มีตัวอักษรซึ่งเป็นบทกลอนพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสลักไว้บริเวณด้านบนของกำไลว่า
 
{| align="center"
เส้น 50 ⟶ 59:
[[ไฟล์:เจ้าจอมสดับ2.jpg|thumb|200px|left|เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ลดาวัลย์]]
 
===ร. 5 เสด็จประพาสยุโรป===
วันที่หม่อมราชวงศ์ได้เล่าว่าเป็นวันที่ทุกข์ที่สุดก็คือ วันที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสยุโรป เมื่อปี [[พ.ศ. 2450|พ.ศ. ๒๔๕๐]] เนื่องจากก่อนรัชกาลที่ 5 จะเสด็จพระราชดำเนินนั้น ทรงมีพระราชดำริที่จะให้เจ้าจอมสดับตามเสด็จไปยุโรปด้วย ในฐานะข้าหลวง [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล กรมขุนอู่ทองเขตขัตตินารี]] ถึงกับสอน[[ภาษาอังกฤษ]]พระราขทานเองก่อนเสวยพระกระยาหารทุกคืน แต่มีเหตุขัดข้อง จึงมิอาจเป็นไปตามพระราชดำรินั้นได้
 
แม้กระนั้น พระองค์ก็ได้มีพระราชหัตเลขามาถึงทุกสัปดาห์ เมื่อได้รับลายพระราชหัตถเลขาแล้ว ท่านก็แสดงอาการดีใจออกมาทุกครั้ง แต่อาการนั้นทำให้เกิดความรู้สึกริษยาจากคนรอบข้างโดยที่ท่านไม่รู้ตัว ทำให้พระวิมาดาเธอฯ ในฐานะผู้ปกครองจึงทรงต้องเข้มงวดกวดขันกิริยาอาการ ตลอดไปถึงข้อความในจดหมาย ด้วยเกรงว่าจะเขียนกราบทูลในเรื่องไม่สมควรไป
 
ครั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จกลับถึง[[กรุงเทพมหานคร|พระนคร]] ก็ทรงซื้อเครื่อง[[เพชร]]มาพระราชทาน โปรดให้แต่งเครื่องเพชรแล้วให้ช่างถ่ายรูปชาวต่างชาติมาถ่ายรูป โดยทรงพระกรุณาจัดท่าพระราชทาน และโปรดพระราชทานตู้ที่ระลึก ยังทรงจัดของตั้งแต่งในตู้นั้นอีกด้วย อีกทั้งยังได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯสถาปนาท่านขึ้นเป็นพระสนมเอก อันเป็นตำแหน่งที่แม้เจ้าจอมมารดาบางท่านรับราชการมาช้านานยังไม่ได้รับพระราชทาน แต่ท่านซึ่งเป็นเพียงเด็กสาวรุ่น และเพิ่งเข้ามารับราชการไม่นานนักกลับได้รับพระเมตตาไว้ในตำแหน่งที่สูงถึงเพียงนี้ ยิ่งก่อให้เกิดความริษยาจากคนรอบข้าง ด้วยวัยเพียง ๑๗17 ปี ท่านจึงได้เล่าถึงความรู้สึกครั้งนั้นว่า
 
:::: ''"...เหลียวไปพบแต่ศตรู คุณจอมนั้นส่อเสียดว่าอย่างนั้น คุณจอมนี้ว่าอย่างนี้ ตรองดูทีหรือข้าพเจ้าจะย่อยยับแค่ไหน"''
เส้น 62 ⟶ 71:
 
===ปลายรัชกาล===
ครั้นเมื่อท่านมีอายุได้ ๒๐20 ปี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต ท่านมีความทุกข์ และเศร้าโศกอย่างยิ่ง ท่านได้กล่าวไว้ว่า
 
''"..ใจคิดจะเสียสละได้ทุกอย่าง จะอวัยวะหรือเลือดเนื้อ หรือชีวิตถ้าเสด็จกลับคืนมาได้ ข้าพเจ้าคิดว่าเป็นใจที่คิดแน่วแน่ว่าตายแทนได้ไม่ใช่แค่พูดเพราะๆ ...คุณจอมเชื้อเอาผ้าเช็ดหน้าผืนหนึ่งมาให้ข้าพเจ้า บอกว่าท่านได้ประทานไว้ซับพระบาท ข้าพเจ้าจึงเอาผ้าที่ซับพระบาทนั้นแล้วพันมวยผมไว้ แล้วก็นั่งร้องไห้กันต่อไปอีก..."''
เส้น 68 ⟶ 77:
ครั้งสุดท้ายที่เจ้าจอมสดับได้มีโอกาสสนองพระเดชพระคุณคือ '''การเป็นต้นเสียง[[มอญร้องไห้|นางร้องไห้]]หน้าพระบรมศพ'''
 
บทเพลง '''นางร้องไห้''' มีอยู่ทั้งหมด 5 บท ดังนี้
 
::::::::::'''1''' พระร่มโพธิ์ทอง พระพุทธเจ้าข้าเอย
::::::::::พระทูลกระหม่อมแก้ว พระพุทธเจ้าข้าเอย
::::::::::'''2''' พระเสด็จไปสู่สวรรค์ชั้นใด ละข้าพระบาทยุคลไว้ พระพุทธเจ้าข้าเอย
::::::::::พระทูลกระหม่อมแก้ว พระพุทธเจ้าข้าเอย
::::::::::'''3''' พระยอดฟ้า พระสุเมรุทอง พระพุทธเจ้าข้าเอย
::::::::::พระทูลกระหม่อมแก้ว พระพุทธเจ้าข้าเอย
::::::::::'''4''' พระเสด็จผ่านพิภพแห่งใด ข้าพระบาทจะตามเสด็จไป พระพุทธเจ้าข้าเอย
::::::::::'''5''' พระทูลกระหม่อมแก้ว พระพุทธเจ้าข้าเอย
::::::::::พระทูลกระหม่อมแก้ว พระพุทธเจ้าข้าเอย
 
==สิ้นรัชกาล==
[[ไฟล์:สดับ วัยเฒ่า.jpg|thumb|เจ้าจอม ม.ร.ว.สดับ ในวัยชรา|170px]]
ในปีที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคตนั้น เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับมีอายุเพียง ๒๐20 ปี ทำให้ท่านเป็นที่จับตามองจากคนรอบข้างว่าจะสามารถครองตัวครองใจเป็นหม้ายได้ต่อไปตลอดหรือไม่
 
หลังจากนั้นอีกไม่นาน ท่านได้ถวายคืนเครื่องเพชรทั้งหลายที่ได้รับพระราชทานมาแด่สมเด็จพระศรีพัชรินทราฯจนหมดสิ้น สมเด็จฯก็ได้ทรงรับไว้แล้วโปรดเกล้าฯให้นำไปขายที่ยุโรป แล้วนำเงินมาสมทบทุนสร้างโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ทั้งสิ้น นอกจากนั้นท่านยังหันไปยึดมั่นใน[[พระพุทธศาสนา]] เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลอีกด้วย
เส้น 91 ⟶ 100:
* ยาดมส้มโอมือ ฯลฯ
 
ตลอดจนถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆในพระราชสำนักเมื่อครั้งกระนั้น ให้ชนรุ่นหลังได้ฟังและจดบันทึกไว้ นับเป็นประโยชน์มาก เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ลดาวัลย์ ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ [[3 มิถุนายน|๓ มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2526|พ.ศ. ๒๕๒๖]] สิริรวมอายุได้ ๙๓93 ปี
 
==ห้องพระเครื่องต้นแห่งราชสำนัก==