ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตำนานแทงข้างหลัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus ย้ายหน้า แนวคิดการลอบแทงข้างหลัง ไปยัง ตำนานแทงข้างหลัง (ไม่สร้างหน้าเปลี่ยนทางตาม...
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[ไฟล์:Stab-in-the-back postcard.jpg|thumb|right|300250px|ภาพวาดในปีภาพประกอบจากไปรษณียบัตรออสเตรีย [[ค.ศ. 1919]] ในไปรษณียบัตรออสเตรีย เป็นภาพล้อเลียนชาวล้อ[[ยิว]] ซึ่งได้ลอบกำลังแทงทหารเยอรมันทางด้านหลังด้วยมีด พร้อมกับการยอมจำนนถูกกล่าวโทษแก่ประชาชนที่ไม่รักชาติ พวก[[พรรคบอลเชวิค|พวกบอลเชวิคสังคมนิยม]] พวก[[สังคมนิยมบอลเชวิค]] [[สาธารณรัฐไวมาร์]] และประชาชนชาวเยอรมันส่วนใหญ่โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ชาวยิวถูกประณามอย่างบ่อยครั้งว่าเป็นต้นเหตุของการพ่ายแพ้ของกองทัพเยอรมันในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]]]
[[ไฟล์:Stab-in-the-back cartoon 1924.jpg|thumb|right|300250px|ภาพการ์ตูนการเมือง[[เยอรมันฝ่ายขวา (การเมือง)|ฝ่ายขวา]]ในปี [[ค.ศ. 1924]] เป็นภาพของ[[ฟิลิปฟีลิพ ไชเดอร์แมนน์]]เดมันน์ (Philipp Scheidemann) นักการเมืองสังคมประชาธิปไตย ผู้เรียกร้องให้มีการจัดตั้งประกาศสาธารณรัฐไวมาร์และเป็น[[มุขมนตรีแห่งเยอรมนี|มุขมนตรีสมัยมาร์และเป็นนายกรัฐมนตรีไวมาร์คนที่สอง]] รวมไปถึง [[และมัททิอัส เออร์ซแบร์เกอร์]]แอร์ซแบร์เกอร์ (Matthias Erzberger) นักการเมืองต่อต้านสงครามจากพรรคกลาง ผู้ลงนามในสนธิสัญญาหยุดยิงการสงบศึกกับฝ่ายพันธมิตรสัมพันธมิตร กำลังลอบแทงกองทัพเยอรมันจากข้างหลัง]]
'''ตำนานแทงข้างหลัง''' ({{lang-de|{{เสียง|De-Dolchstoßlegende.ogg|''Dolchstoßlegende''}}}}) เป็นแนวคิดที่เชื่อถือกันอย่างกว้างขวางในแวดวงฝ่ายขวาในเยอรมนีหลัง ค.ศ. 1918 ว่ากองทัพเยอรมันมิได้แพ้[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] หากแต่ถูกทรยศหักหลังโดยพลเรือนหลังแนวหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พวกนิยมสาธารณรัฐที่ล้มล้างพระมหากษัตริย์ ผู้สนับสนุนประณามผู้นำรัฐบาลเยอรมันที่ลงนาม[[การสงบศึกกับเยอรมนี|การสงบศึก]]เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 ว่า "อาชญากรพฤศจิกายน"
 
'''แนวคิดการลอบแทงข้างหลัง''' ({{lang-de|{{เสียง|De-Dolchstoßlegende.ogg|''Dolchstoßlegende''}}}} แปลตามตัวอักษรว่า "ตำนานการแทงมีด") คือ แนวคิดที่ได้รับความนิยมอย่างมากในประเทศเยอรมนีในช่วงหลัง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] จนถึงยุค[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ซึ่งระบุว่าสาเหตุที่เยอรมนีเป็นฝ่ายพ่ายแพ้สงครามนั้นมิได้เกิดจากความพ่ายแพ้ของทหารเยอรมันบนสนามรบ แต่เป็นเพราะว่า ประชาชนไม่ตอบสนองต่อการปลุกระดมให้เกิดการรักชาติและจงใจทำลายความพยายามในการทำสงคราม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง [[ยิว]] [[สังคมนิยม|พวกสังคมนิยม]]และ[[พรรคบอลเชวิค|พวกบอลเชวิค]] แนวคิดดังกล่าวเป็นเสียงสะท้อนของมหากาพย์ เรื่อง ''นีเบลุนเกนลีด'' ({{lang-de|Nibelungenlied}}) ซึ่งวีรบุรุษผู้สังหารมังกร ซีกฟรีด ถูกลอบแทงข้างหลังโดย ฮาเกน วอน ทรอนจี
 
แนวคิดดังกล่าวนี่เองที่เป็นจุดสำคัญในการก้าวขึ้นสู่อำนาจของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] โดย[[พรรคนาซี]]มีคะแนนเสียงเพิ่มขึ้นจากทหารผ่านศึก[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]อันขมขื่น และได้ส่งผลกระทบมาจนถึงประวัติศาสตร์เยอรมนีจนถึงปัจจุบัน