ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วุฒิสภาฝรั่งเศส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
| องค์ประกอบ =
| ประธาน1_ประเภท = ประธาน
| ประธาน1 = ฌอง ฌ็อง-ปีแอร์แยร์ แบล (Jean-Pierre Bel)
| พรรค1 = จาก[[พรรคสังคมนิยม (ฝรั่งเศส)|พรรคสังคมนิยม]] (Parti socialist)
| การเลือกตั้ง1 =
บรรทัด 63:
| ห้องประชุมขนาด =
| ห้องประชุมบรรยาย =
| ที่ประชุม = [[Luxembourg Palace|พระราชวังลูซ็องบูกลุกซ็องบูร์]] [[กรุงปารีส]]
| เว็บไซต์ = [http://www.senat.fr/ Senat.fr]
| หมายเหตุ =
}}
'''วุฒิสภาแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส''' ({{lang-fr|Sénat français }}) เป็น[[สภาสูง]]ใน[[รัฐสภาฝรั่งเศส]] โดยมีประธานวุฒิสภา (Presidentprésident) ทำหน้าที่ควบคุมดูแล
 
เพื่อให้เหมาะสมกับจำนวนประชากรและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆต่าง กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ฉบับที่ 2003-696 ลงวันที่ 30 กรกฎาคม ค.ศ. 2003 กำหนดให้ลดวาระในการดำรงตำแหน่งของสมาชิกวุฒิสภาและปฏิรูปองค์ประกอบของวุฒิสภา
 
ในปีค.ศ. 2007 กฎหมายฉบับที่ 2007-224 ลงวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2007 ได้เพิ่มเขตการปกครองโพ้นทะเล (collectivité d’outre-mer: COM ) อีก 2 เขต คือ เกาะแซงต์[[แซ็ง-บาร์เธเลอมีเตเลอมี]] (Saint-Barthélemy) และ เกาะแซงต์[[แซ็ง-มาร์แต็ง]] (Saint-Martin) ซึ่งเกาะดินแดนทั้ง 2 แห่งเคยอยู่ภายใต้การปกครองของ กัวเดอลูป[[กวาเดอลูป]] (Guadeloupe) ทำให้มีการเพิ่มจำนวนสมาชิกวุฒิสภาอีก 2 คน ซึ่งจะมีผลบังคับใช้ในการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา เมื่อปี ค.ศ. 2008 (ทำให้มีจำนวนสมาชิกวุฒิสภา เพิ่มจาก 341 คนเป็น 343 คน)
 
เดิมมีการกำหนดการเลือกตั้งไว้ในปี ค.ศ. 2007 และ ค.ศ. 2010 แต่เนื่องด้วยเกิดการปรับเปลี่ยนตารางกำหนดการเลือกตั้งของการเลือกตั้งระดับเทศบาลและระดับเขต (élections municipales et cantonales) และเพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาในช่วงต้นของวาระการดำรงตำแหน่งจึงมีการเลื่อนการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไปจัดในเดือนกันยายนของปี ค.ศ. 2008, ปีค.ศ. 2011 และปีค.ศ. 2014 ตามลำดับ
บรรทัด 77:
ในปีค.ศ. 2011 วุฒิสภาจะมีจำนวนสมาชิกวุฒิสภาเพิ่มขึ้นอันเนื่องมาจากการปฏิรูปองค์ประกอบของวุฒิสภา ทำให้มีจำนวนสมาชิกวุฒิสภาเป็นจำนวน 348 คน โดยมาจากเขตต่าง ๆ ดังนี้
 
* สมาชิกจากจังหวัดภาคพื้นทวีป (départements de métropole) และจังหวัดโพ้นทะเล (départements d’outre-mer) จำนวน 326 คน
* สมาชิกจากหมู่เกาะโพดินแดน[[เฟรนช์โปลิเนซี ฝรั่งเศส (Polynésie français) นีเซีย]]และเกาะวาลีส์ดินแดน[[วาลลิสและฟูฟุตูน่า (îles Wallis-et-futuna) นา]] จำนวน 3 คน
* สมาชิกจากเกาะแซงต์ดินแดนแซ็ง-บาร์เธเลอมี (Saint-Barthélemy) เตเลอมี จำนวน 1 คน
* สมาชิกจากเกาะแซงต์ดินแดนแซ็ง-มาร์แต็ง ( Saint-martin) จำนวน 1 คน
* สมาชิกจากหมู่เกาะนูแวล กาเลโดนี (Nouvelle Calédonie) ดินแดน[[นิวแคลิโดเนีย]] จำนวน 2 คน
* สมาชิกจากเกาะดินแดน[[มายอตต์ (Mayotte)ยอต]] จำนวน 2 คน
* สมาชิกจากเกาะแซงต์-ดินแดน[[แซงปีแอร์ เอต์ มิแยร์และมีเกอลง (Saint-Pierre et Miquelon)]] จำนวน 1 คน
* สมาชิกจากตัวแทนคนฝรั่งเศสที่อาศัยอยู่ในต่างประเทศ (représentants des Français à l'étranger) จำนวน 12 คน
 
บรรทัด 90:
==ที่มา==
 
สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งทั่วไปโดยอ้อมกล่าวคือ ชาวฝรั่งเศสที่มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งโดยจะเลือกผู้แทนในระดับท้องถิ่นที่เรียกว่า "คณะผู้เลือกตั้ง”เลือกตั้ง" (un collège électoral) ประกอบด้วยสมาชิกสภาเทศบาล สมาชิกสภาจังหวัด สมาชิกสภาภาค และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รวมจำนวนประมาณ 150,000 คน คณะผู้เลือกตั้งเหล่านี้ทำหน้าที่เป็นตัวแทนของประชาชนในการเลือกสมาชิกวุฒิสภา
 
ระบบการเลือกตั้งสำหรับใช้ในการเลือกสมาชิกวุฒิสภา มี 2 แบบ คือ ในเขตเลือกตั้งที่สามารถเลือกสมาชิกวุฒิสภาได้ 1-3 คน จะใช้ระบบการเลือกตั้งแบบยึดคะแนนเสียงข้างมากสองรอบ (le scrutin majoritaire à deux tours) ผู้ชนะการเลือกตั้งในรอบแรก คือ ผู้ที่ได้รับคะแนนเสียงมากเกินกึ่งหนึ่งของคะแนนเสียงทั้งหมดและคะแนนเสียงที่ได้รับต้องมีจำนวน 1 ใน 4 ของผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งที่มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง หากไม่มีผู้สมัครคนใดชนะการเลือกตั้งในรอบแรกต้องมีการจัดเลือกตั้งในรอบที่ 2 ซึ่งจะนำผู้ที่ได้คะแนนมากที่สุด 2 คน จากรอบแรกมาแข่งขันกัน โดยผู้ชนะการเลือกตั้งในรอบนี้ คือ ผู้ที่ได้คะแนนสูงสุด
 
ส่วนการเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งที่มีสมาชิกวุฒิสภาได้ 4 คนหรือมากกว่านั้น หรือการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาที่เป็นตัวแทนชาวฝรั่งเศสที่อาศัยอยู่ในต่างประเทศจะใช้ระบบการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (représentation proportionnelle) กล่าวคือ ผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งจะเลือกผู้สมัครตามบัญชีรายชื่อที่กำหนดไว้ บัญชีรายชื่อใดได้คะแนนมากก็มีสิทธิที่จะได้ที่นั่งมาก ส่วนบัญชีรายชื่อใดได้คะแนนน้อยก็มีสิทธิที่จะได้ที่นั่งน้อยตามสัดส่วน
 
ก่อนเดือนกันยายน ปีค.ศ. 2004 วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 321 คน ซึ่งมีวาระ 9 ปี ซึ่งในปีนั้นได้มีการปฏิรูปโดยปรับลดวาระของวุฒิสภาเหลือเพียง 6 ปี ในขณะที่จำนวนสมาชิกวุฒิสภาได้เพิ่มขึ้นเป็น 348 คน ในปีค.ศ. 2011 เพื่อให้เหมาะสมกับจำนวนประชากร โดยให้มีการเลือกตั้งสมาชิกจำนวนครึ่งหนึ่งของสมาชิกทั้งหมดใหม่ทุก ๆ 3 ปีตามชุดของสมาชิกวุฒิสภาซึ่งจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ชุด คือ ชุด 1 และชุด 2 และผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 30 ปีบริบูรณ์
บรรทัด 150:
สมาชิกวุฒิสภาฝรั่งเศสมีสิทธิเสนอร่างกฎหมาย ซึ่งเรียกว่า proposition de loi และร่างแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายได้เช่นเดียวกันกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร โดยร่างกฎหมายจะถูกเสนอต่อสภาของผู้ร่างเป็นอันดับแรก แต่ถ้าเป็นร่างกฎหมายเกี่ยวกับการจัดโครงสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและร่างกฎหมายเกี่ยวกับการเป็นผู้แทนของชาวฝรั่งเศสที่อยู่นอกประเทศต้องเสนอต่อวุฒิสภาเพื่อพิจารณาก่อน
 
เมื่อได้รับร่างกฎหมายแล้ว วุฒิสภาจะทำการพิจารณาตามกระบวนการนิติบัญญัติ เมื่อทั้งสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาได้พิจารณาร่างกฎหมายที่มีเนื้อหาเดียวกัน หากทั้ง 2 สภามีความเห็นตรงกันก็ถือว่าร่างกฎหมายนั้นได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา แต่ในกรณีที่ทั้ง 2 สภามีความเห็นไม่ตรงกัน ร่างกฎหมายฉบับนั้นก็จะถูกส่งกลับไปกลับมาระหว่าง 2 สภา (la navette) ซึ่ง นายกรัฐมนตรีสามารถขอให้มีการตั้ง "คณะกรรมาธิการร่วมกัน” กัน" (une commission mixte paritaire) ประกอบด้วยสมาชิกที่มีลักษณะแตกต่างกับของไทย กล่าวคือ คณะกรรมาธิการร่วมกันของฝรั่งเศสประกอบด้วยสมาชิกวุฒิสภา 7 คนและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 7 คน ทำหน้าที่พิจารณาร่างกฎหมายเพื่อให้ได้ข้อยุติ แต่หากคณะกรรมาธิการร่วมกันไม่สามารถตกลงกันได้อีก ร่างกฎหมายนั้นจะถูกส่งไปให้ทั้งสองสภาพิจารณาอีกครั้ง และหลังจากนั้นสภาผู้แทนราษฎรจะเป็นผู้ตัดสินชี้ขาด ในกรณีดังกล่าว สภาผู้แทนราษฎรอาจนำร่างที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมาธิการร่วมกันหรือร่างที่ผ่านการพิจารณาครั้งสุดท้ายของสภาผู้แทนราษฎรซึ่งอาจมีการแปรญัตติโดยความเห็นชอบของวุฒิสภาแล้ว มาเป็นร่างที่ใช้ในการพิจารณาก็ได้
 
===ด้านการควบคุมรัฐบาล (Pouvoir de contrôle)===