ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:ความโดดเด่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต ลบ: hy:Վիքիփեդիա:Նշանակալիություն (missing)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กึ่งล็อก|small=yes}}{{เว็บย่อวิกิ|WP:NOTE}}
{{ความโดดเด่นของบทความ}}
{{nutshell|'''วิกิพีเดียครอบคลุมเฉพาะหัวเรื่องที่มีความโดดเด่นเท่านั้น''' หมายความว่าคือ มีแหล่งข้อมูลที่ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียกับบทความ "รับรู้" ถึงความสำคัญของหัวเรื่องนั้น หากบทความใดที่เป็นไปตามเงื่อนไขด้านล่างและไม่ขัดต่อนโยบาย [[WP:NOT]] ถือเป็นอันใช้ได้}}
{{รวมความโดดเด่น}}
 
ในวิกิพีเดีย '''เงื่อนไขในการนับว่าเป็นสารานุกรม''' เป็นการตัดสินว่าเรื่องใดเหมาะสมควรแก่การเขียนเป็นบทความในวิกิพีเดีย ข้อมูลบนวิกิพีเดียจะต้อง[[WP:V|สามารถพิสูจน์ยืนยันได้]] หากไม่มีแหล่งข้อมูลอันน่าเชื่อถือและไม่มีส่วนได้ส่วนเสียเกี่ยวกับเนื้อหาแล้ว หัวเรื่องนั้นก็ไม่ควรเป็นบทความแยกต่างหาก แนวคิดของการนับว่าเป็นสารานุกรมของวิกิพีเดียใช้เป็นมาตรฐานเพื่อป้องกันการเพิ่มเติมเพิ่มเนื้อหาอย่างขาดการพิจารณา (indiscriminate inclusion) บทความและหัวข้อรายชื่อจะต้องมีความโดดเด่นหรือ "ควรค่าแก่การรู้จัก" (worthy of notice) การนับว่าเป็นสารานุกรมนั้นไม่จำเป็นจะต้องขึ้นอยู่กับชื่อเสียง ความสำคัญ หรือความเป็นที่นิยม แม้สิ่งเหล่านี้จะทำให้หัวเรื่องต่าง ๆ เป็นไปตามแนวปฏิบัติตามดังที่ได้อธิบายไว้ด้านล่าง
 
ให้สันนิษฐานว่าหัวเรื่องนั้นเหมาะแก่การเขียนเป็นบทความ หากเป็นไปตามแนวปฏิบัติด้านความโดดเด่นทั่วไปด้านล่าง และต้องไม่เข้าข่าย[[WP:NOT|สิ่งที่ไม่ใช่วิกิพีเดีย]] นอกจากนี้ หัวเรื่องยังอาจพิจารณาว่าเหมาะสมได้หากเป็นไปตามเนื้อหาบางประเภทมีหลักเกณฑ์ของแนวปฏิบัติเฉพาะหัวเรื่องดังนี้ตามที่ปรากฏบนกล่องด้านขวามือ ก็ให้ยึดทั้งแนวปฏิบัติในหน้านี้กับแนวปฏิบัติเฉพาะหัวเรื่องควบคู่กันไป
 
แนวปฏิบัตินี้เป็นเพียงกรอบที่พิจารณาว่าหัวเรื่องใดเหมาะสมสำหรับเหมาะแก่การแยกเป็นบทความหรือรายชื่อ (list) ใหม่ ซึ่งไม่ได้ครอบคลุมเนื้อหา (content) ของบทความหรือรายชื่อแต่อย่างใด สำหรับนโยบายวิกิพีเดียด้านเนื้อหานั้น เช่น [[WP:NPOV|มุมมองที่เป้นกลางเป็นกลาง]], [[WP:NOR|งดงานค้นคว้าต้นฉบับ]]
 
== แนวปฏิบัติด้านความโดดเด่นทั่วไป ==