ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อดอล์ฟ ฮิตเลอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| image = Bundesarchiv Bild 183-S33882, Adolf Hitler retouched.jpg
| order = [[ฟือแรร์|ฟือแรร์แห่งเยอรมนี]]
| term_start = [[2 สิงหาคม]] [[ค.ศ. 1934]]
| term_end = [[30 เมษายน]] [[ค.ศ. 1945]]
| predecessor = [[พอล ฟอน ฮินเดนบูร์ก]]<br />(ประธานาธิบดี)
| successor = [[คาร์ล เดอนิตช์]]<br />(ประธานาธิบดี)
| order2 = [[นายกรัฐมนตรีเยอรมนี]]
| term_start2 = 30 มกราคม ค.ศ. 1933
| term_end2 = 30 เมษายน ค.ศ. 1945
| predecessor2 = [[คูร์ท ฟอน ชไลเชอร์]]
| successor2 = [[โยเซฟ เกิบเบิลส์]]
| birth_date = [[20 เมษายน]] [[ค.ศ. 1889]]
| birth_place = เบราเนา อัม อินน์ [[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี]]
| death_date = [[30 เมษายน]] [[ค.ศ. 1945]] (อายุ 56 ปี)
| death_place = [[เบอร์ลิน]] [[นาซีเยอรมนี]]
| party = [[พรรคนาซี]]
| สัญชาติ = [[ออสเตรีย]]<br /><small>(ค.ศ. 1889 - 7 เมษายน ค.ศ. 1925)<ref>"[http://www.ns-archiv.de/personen/hitler/oesterreich/staatsbuergerschaft.php Hitler ersucht um Entlassung aus der österreichischen Staatsangehörigkeit]", 7 April 1925 (in German). Translation: "Hitler's official application to end his Austrian citizenship". NS-Archiv. Retrieved on 2008-08-19</ref></small><br />[[เยอรมนี|เยอรมัน]]<br /><small>(ค.ศ. 1932 - ค.ศ. 1945)</small>
| spouse = [[เอวา บราวน์]] <br />(29-30 เมษายน ค.ศ. 1945)
| religion =
| profession = [[นักการเมือง]], [[จิตรกร]], ทหาร, นักเขียน
บรรทัด 25:
| เหล่าทัพ = [[ไฟล์:War Ensign of Germany 1903-1918.svg|23px|border]] กองทัพบกแห่งจักรวรรดิเยอรมัน
| หน่วยทหาร = กรมทหารกองหนุนบาวาเรียที่ 16
| ปีที่รับราชการทหาร = [[ค.ศ. 1914]]-[[ค.ศ. 1918]]
| ยศ = พลทหาร
| สงคราม = [[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]
บรรทัด 31:
| footnotes =
}}
'''อดอล์ฟ ฮิตเลอร์''' (20 เมษายน ค.ศ. 1889 – 30 เมษายน ค.ศ. 1945) เป็น[[นักการเมือง]]เยอรมนี สัญชาติ[[ออสเตรีย]]โดยกำเนิด หัวหน้า[[พรรคนาซี|พรรคแรงงานสังคมนิยมแห่งชาติเยอรมัน]] หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรีเยอรมนี]] ระหว่างปี ค.ศ. 1933 จนถึง 1945 และ "[[ฟือแรร์]]" [[ประมุขแห่งรัฐ]]ของนาซีเยอรมนีระหว่างปี ค.ศ. 1934 ถึง 1945 ฮิตเลอร์ถูกจดจำว่ามีบทบาทสำคัญในการรุ่งเรืองของ[[ฟาสซิสต์]]ในทวีปยุโรป [[สงครามโลกครั้งที่สอง]] และ[[การล้างชาติโดยนาซี]]
 
ฮิตเลอร์เป็นทหารผ่านศึก[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]ซึ่งได้รับรางวัลหลายรางวัล หลังจากนั้น ฮิตเลอร์ได้เข้าร่วม[[พรรคกรรมกรเยอรมัน]] ซึ่งเป็นพรรคการเมืองก่อนหน้าพรรคนาซี ในปี ค.ศ. 1919 ก่อนที่จะได้เป็นหัวหน้าพรรคนาซีใน ค.ศ. 1921 เขาได้พยายามก่อ[[รัฐประหาร]] ซึ่งเป็นที่รู้จักกันว่า [[กบฏโรงเบียร์]] ในเมือง[[มิวนิก]] เมื่อวันที่ 8-9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1923 แต่ประสบความล้มเหลว ฮิตเลอร์ถูกจำคุกเป็นเวลาหนึ่งปี ซึ่งในระหว่างนั้นเองที่เขาเขียนบันทึกความทรงจำ [[ไมน์คัมพฟ์]] (การต่อสู้ของข้าพเจ้า) หลังจากได้รับการปล่อยตัวเมื่อ 20 ธันวาคม ค.ศ. 1924 เขาได้รับเสียงสนับสนุนจากการเสนอนโยบายรวมชาวเยอรมัน ต่อต้านชาวยิว ต่อต้าน[[ทุนนิยม]] และต่อต้าน[[คอมมิวนิสต์]] โดยการกล่าวสุนทรพจน์อันมีเสน่ห์และการโฆษณาชวนเชื่อ เขาได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1933 และเปลี่ยนแปลงการปกครองจาก[[สาธารณรัฐไวมาร์]]เป็น[[นาซีเยอรมนี|จักรวรรดิไรช์ที่สาม]] รัฐเผด็จการพรรคการเมืองเดียว ภายใต้แนวคิด[[นาซี]]อันมีลักษณะเป็นเผด็จการเบ็ดเสร็จและอัตตาธิปไตย
 
ฮิตเลอร์ปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะจัดระเบียบโลกใหม่ โดยให้นาซีเยอรมนีมีอำนาจครอบงำเหนือ[[ยุโรปภาคพื้นทวีป]] เพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าว เขาจึงดำเนินนโยบายต่างประเทศซึ่งประกาศเป้าหมายในการครองครอง[[เลอเบนสเราม์]] ("พื้นที่อยู่อาศัย") สำหรับชาว[[อารยัน]] เขาเป็นผู้นำการสร้างเสริมกำลังอาวุธขึ้นใหม่และ[[การรุกรานโปแลนด์]] ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1939 อันนำไปสู่การปะทุของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป<ref>{{harvnb|Keegan|1989}}</ref>
 
ภายในระยะเวลาสามปีใต้การนำของฮิตเลอร์ กองทัพเยอรมันและพันธมิตรในยุโรปได้ครองครองดินแดนส่วนใหญ่ของยุโรปและ[[แอฟริกาเหนือ]] อย่างไรก็ดี สถานการณ์ค่อยพลิกผันหลัง ค.ศ. 1941 กระทั่งกองทัพสัมพันธมิตรเอาชนะกองทัพเยอรมันใน ค.ศ. 1945 นโยบายที่กระตุ้นด้วยการถือชาติพันธุ์ของฮิตเลอร์ลงเอยด้วยการเสียชีวิตของผู้คนนับ 17 ล้านคน<ref>{{Citation|title=The Columbia Guide to the Holocaust|last=Niewyk|first=Donald L.|authorlink=|coauthors=Francis R. Nicosia|year=2000|publisher=Columbia University Press|location=|isbn=0231112009|page=45}}</ref> รวมชาวยิวหกล้านคนโดยประเมิน และ[[ชาวโรมานีโรมาเนีย]]อีกระหว่างห้าแสนถึงหนึ่งล้านห้าแสนคนที่เป็นเป้าหมายในการล้างชาติโดยนาซี<ref>[[Ian Hancock|Hanock, Ian]]. [http://www.radoc.net:8088/RADOC-3-PORR.htm "Romanies and the Holocaust: A Reevaluation and an Overview"]<!-- {{dead link|date=July 2009}}-->, published in Stone, D. (ed.) (2004) ''The Historiography of the Holocaust''. Palgrave, Basingstoke and New York.</ref>
 
ในช่วงวันสุดท้ายของสงคราม ระหว่างยุทธการเบอร์ลินใน ค.ศ. 1945 ฮิตเลอร์แต่งงานกับ[[เอวา บราวน์]] และเพื่อหลีกเลี่ยงมิให้ถูกจับกุมโดยกองทัพโซเวียต ทั้งสองทำอัตวินิบาตกรรมเมื่อวันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 1945 โดยร่างของทั้งสองถูกเผา<ref>Linge (2009), ''With Hitler to the End: The Memoir of Hitler's Valet'', pp. 199, 200</ref>
 
== ชีวิตช่วงต้น ==
 
=== บรรพบุรุษ ===
บิดาของฮิตเลอร์ อาลัวส์ ฮิตเลอร์ (Alois Hitler) เป็นบุตรนอกกฎหมายของมาเรีย แอนนา ชิคเคลกรูเบอร์ (Maria Anna Schicklgruber) ดังนั้นชื่อบิดาจึงไม่ถูกระบุไว้ในสูติบัตรของอาลัวส์ และใช้นามสกุลของมารดา<ref name=Shirer>{{citation|last=Shirer|first=W. L.|year=1960|title=[[The Rise and Fall of the Third Reich]]|publisher=Simon and Schuster|location=New York}}</ref><ref name=RosenbaumR1999>[[Ron Rosenbaum|Rosenbaum, R.]] (1999). ''[[Explaining Hitler: The Search for the Origins of His Evil]].'' Harper Perennial. ISBN 0-06-095339-X</ref> ใน ค.ศ. 1842 โยฮันน์ เจออร์ก ฮีดเลอร์ (Johann Georg Hiedler) สมรสกับมาเรีย และในปี ค.ศ. 1876 อาลัวส์ได้ให้การเป็นพยานต่อหน้าเจ้าพนักงานและพยานอีกสามคนว่าโยฮันน์เป็นบิดาของเขา<ref name=Shirer_paternity>{{citation|last=Shirer|page=7|date=15 November 1990|title=The Rise and Fall of the Third Reich|isbn=9780671728687|url=http://books.google.com/?id=sY8svb-MNUwC&printsec=frontcover&dq=the+rise+and+fall+of+the+third+reich&q=alois%20hitler%20%20johann}}</ref> ซึ่งถึงแม้ว่าจะมีการพิสูจน์ครั้งนี้แล้วก็ตาม บิดาของอาลัวส์ก็ยังคงเป็นหัวข้อถกเถียงกันต่อไป หลังจากได้รับ "จดหมายแบล็กเมล์" จากหลานชายของฮิตเลอร์ วิลเลียม แพทริก ฮิตเลอร์ ซึ่งขู่ว่าจะเปิดเผยข้อมูลอันน่าอับอายเกี่ยวกับสายตระกูลของฮิตเลอร์ ทนายความพรรคนาซี [[ฮันส์ ฟรังค์]] แนะว่ามีจดหมายซึ่งอ้างว่ามารดาของอาลัวส์นั้นถูกจ้างเป็นแม่บ้านโดยครอบครัวชาวยิวครอบครัวหนึ่งในกราซ และว่าลูกชายวัย 19 ปีของครอบครัว ลีโอโปลด์ ฟรังเกนแบร์แกร์ เป็นบิดาของอาลัวส์<ref name=RosenbaumR1999/> อย่างไรก็ดี ไม่มีคนในตระกูลฟรังเกนแบร์แกร์หรือชาวยิวมีทะเบียนในกราซในช่วงเวลานั้น{{sfn|Hamann|2010|p=50}} ปัจจุบัน นักประวัติศาสตร์เคลือบแคลงกับการอ้างว่าบิดาของอาลัวส์เป็นชาวยิว{{sfn|Toland|1992|pp=246–47}}{{sfn|Kershaw|1999|pp=8–9}} ชาวยิวทั้งหมดถูกเนรเทศออกจากกราซในรัชสมัย[[จักรพรรดิมักซิมิเลียนที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|จักรพรรดิมักซิมิเลียนที่ 1]] ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และไม่ได้รับอนุญาตให้กลับมาตั้งรกรากใน[[รัฐสติเรีย]]กระทั่งรัฐธรรมนูญผ่านใน ค.ศ. 1849{{sfn|Hamann|2010|p=50}}{{sfn|Kershaw|1999|pp=8–9}}
เมื่อมีอายุได้ 39 ปี อาลัวส์เปลี่ยนไปใช้นามสกุลฮิตเลอร์ ซึ่งสามารถสะกดได้หลายแบบตั้งแต่ ฮีดเลอร์ (Hiedler), ฮึทเลอร์ (Hüttler, Huettler) ชื่อนี้อาจถูกใช้ตามระเบียบโดยเสมียนธุรการ ที่มาของชื่อดังกล่าวอาจหมายถึง "ผู้ที่อยู่ในกระท่อม" ({{lang-de|Hütte}}), "คนเลี้ยงแกะ" ({{lang-de|hüten}}; "เฝ้า") หรือมาจากคำภาษาสลาฟ ฮิดลาร์ และฮิดลาเร็ค<ref>
บรรทัด 61:
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 183-1989-0322-506, Adolf Hitler, Kinderbild.jpg|upright|thumb|อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในวัยทารก (ประมาณ ค.ศ. 1889-1890)]]
[[ไฟล์:Klara Hitler.jpg|thumb|upright|คลารา มารดาของอดอล์ฟ]]
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์เกิดเมื่อเวลาราว 18.30 น. เมื่อวันที่ 20 เมษายน ค.ศ. 1889 ที่กัสทอฟ ซุม พอมแมร์ (Gasthof zum Pommer) โรงเตี๊ยมแห่งหนึ่งในรันส์ฮอเฟน (Ranshofen)<ref name="BBCNews2011" /> หมู่บ้านซึ่งผนวกเข้ากับเทศบาลเบราเนา อัม อินน์ (Braunau am Inn) ออสเตรียบน ใน ค.ศ. 1938 เป็นบุตรคนที่สามจากทั้งหมดห้าคนของอาลัวส์ ฮิตเลอร์และคลารา เพิลเซล (Klara Pölzl) พี่ทั้งสองคนของฮิตเลอร์ กุสตาฟและไอดา เสียชีวิตตั้งแต่เป็นทารก{{sfn|Shirer|1960|p=9}} เมื่อฮิตเลอร์อายุได้สามขวบ ครอบครัวของเขาย้ายไปพัสเซา เยอรมนี{{sfn|Rosmus|2004|p=33}} ที่ซึ่งทำให้ฮิตเลอร์ได้รับสำเนียงท้องถิ่นในระยะยาวแบบบาวาเรียล่างมากกว่าสำเนียงออสเตรีย และเป็นสำเนียงที่ฮิตเลอร์ใช้พูดตลอดชีวิต{{sfn|Keller|2010|p=15}}{{sfn|Hamann|2010|pp=7–8}}{{sfn|Kubizek|2006|p=37}} ใน ค.ศ. 1894 ครอบครัวได้ย้ายอีกหนหนึ่งไปยังเลออนดิง ใกล้กับลินซ์ จากนั้นเมื่อเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1895 อาลัวส์ได้เกษียณไปยังที่ดินเล็ก ๆ ที่ฮาเฟลด์ ใกล้ลัมบัค ที่ซึ่งเขาพยายามประกอบอาชีพเกษตรกรรมและเลี้ยงผึ้งด้วยตนเอง ฮิตเลอร์เข้าศึกษาที่โรงเรียนที่ฟิเชลฮัม (Fischlham) ในละแวกใกล้เคียง ขณะที่ยังเป็นเด็ก ฮิตเลอร์เล่น "คาวบอยกับอินเดียแดง" และจากการละเล่นดังกล่าวได้กลายมาเป็นการยึดติดสงครามหลังพบหนังสือภาพเกี่ยวกับ[[สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย]]ท่ามกลางบรรดาสมบัติส่วนตัวของบิดาเขา{{sfn|Kubizek|2006|p=92}}{{sfn|Hitler|1999|p=6}}
 
การย้ายไปยังฮาเลฟด์กลับกลายเป็นว่าเกิดขึ้นไล่เลี่ยกับการเริ่มต้นของความขัดแย้งอย่างรุนแรงระหว่างพ่อลูก ซึ่งเกิดขึ้นเพราะฮิตเลอร์ปฏิเสธที่จะเชื่อฟังกฎระเบียบอันเข้มงวดของโรงเรียนเขา ความพยายามทำการเกษตรที่ฮาเฟลด์ของอาลัวส์ประสบความล้มเหลว และใน ค.ศ. 1897 ครอบครัวได้ย้ายไปลัมบัค ฮิตเลอร์เข้าศึกษาที่โรงเรียนคาทอลิกแห่งหนึ่งใน[[ระเบียงคด|เขตพรต]]เบเนดิกติน (Benedictine) ซึ่งที่บนกำแพงนั้นมีการแกะสลักที่มีสัญลักษณ์[[สวัสดิกะ]]<ref>Rosmus, ''op cit'', p. 35</ref> ในลัมบัค ฮิตเลอร์วัยแปดขวบเข้าเรียนร้องเพลง ร่วมอยู่ในวงประสานเสียงของโบสถ์ และกระทั่งวาดฝันว่าตนจะเป็นนักบวช<ref>Shirer, p.27</ref> ในปี ค.ศ. 1898 ครอบครัวได้ย้ายกลับไปยังเลออนดิงเป็นการถาวร การเสียชีวิตของเอ็ดมุนด์ น้องชายของฮิตเลอร์ ด้วย[[โรคหัด]] เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1900 มีผลอย่างลึกซึ้งต่อฮิตเลอร์ เขาเปลี่ยนจากที่เคยมั่นใจในตัวเองและเข้าสังคมได้ง่าย ตลอดจนเป็นนักเรียนยอดเยี่ยม มาเป็นเด็กเจ้าอารมณ์ เฉยชา และบึ้งตึง ที่มักทะเลาะกับบิดาและครูอย่างต่อเนื่อง<ref>{{harvnb|Payne|1990|p=22}}</ref>
 
อาลัวส์ประสบความสำเร็จในอาชีพในสำนักงานศุลกากร และต้องการให้ลูกชายเจริญตามรอยเท้าของเขา ภายหลังฮิตเลอร์เล่าถึงช่วงนี้เกินความจริงเมื่อพ่อพาเขาไปชมที่ทำการศุลกากร โดยบรรยายว่า เป็นเหตุการณ์ที่นำไปสู่การต่อต้านอย่างไม่อาจให้อภัยรหว่างพ่อกับลูกที่ต่างมีความตั้งใจแรงกล้าทั้งคู่{{sfn|Hitler|1999|p=8}}{{sfn|Keller|2010|pp=33–34}}<ref name="Fest1977" /> โดยละเลยต่อความต้องการของลูกชายที่อยากเข้าศึกษายังโรงเรียนมัธยมคลาสสิกและจบมาเป็นศิลปิน ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1900 อาลัวส์ส่งฮิตเลอร์ไปยังเรอัลชูเลอ (Realschule) ในลินซ์ โรงเรียนอาชีวะระดับมัธยมที่มีนักเรียนราว 300 คน ฮิตเลอร์กบฏต่อการตัดสินใจนี้ และในไมน์คัมพฟ์ได้เปิดเผยว่า เขาเรียนได้เลวมากในโรงเรียน ด้วยหวังว่าเมื่อพ่อของเขาเห็นว่า "ฉันมีความคืบหน้าน้อยเพียงใดที่โรงเรียนอาชีวะ เขาจะปล่อยให้ฉันอุทิศตนแก่ความใฝ่ฝันของฉัน"{{sfn|Hitler|1999|p=10}}
บรรทัด 69:
ฮิตเลอร์กลายมาหลงใหลในลัทธิชาตินิยมเยอรมันตั้งแต่วัยเยาว์ ซึ่งเป็นหนทางหนึ่งที่จะแสดงการไม่เชื่อฟังพ่อของตน ผู้รับใช้[[ออสเตรีย-ฮังการี|รัฐบาลออสเตรีย]]อย่างภูมิใจ แม้ชาวออสเตรียจำนวนมากจะมองว่าตัวเป็นชาวเยอรมัน แต่ก็ภักดีต่อออสเตรีย ฮิตเลอร์แสดงออกซึ่งความภักดีเฉพาะต่อ[[จักรวรรดิเยอรมัน|เยอรมนี]] แม้ราชวงศ์ฮับสบูร์กและการปกครองเหนือจักรวรรดิอันมีความหลากหลายทางเชื้อชาติจะเสื่อมถอยลงก็ตาม<ref name="Bendersky2000" /><ref name="Ryschka2008" /> ฮิตเลอร์และเพื่อนของเขาใช้คำทักทายภาษาเยอรมัน "[[ไฮล์]]" และร้องเพลงชาติเยอรมัน "[[ดาสลีดแดร์ดอยท์เชน|ดอยท์ชลันด์อือแบร์อัลเลส์]]" แทนเพลงชาติออสเตรีย{{sfn|Hamann|2010|p=13}}
 
หลังการเสียชีวิตอย่างฉับพลันของอาลัวส์เมื่อวันที่ 3 มกราคม ค.ศ. 1903 พฤติกรรมของฮิตเลอร์ที่โรงเรียนอาชีวะยิ่งยุ่งเหยิงมากไปอีก กระทั่งเขาถูกเชิญออกจากโรงเรียนใน ค.ศ. 1904 เขาได้ลงเรียนที่เรอัลชูเลอในสเทเยอร์ (Steyr) ในเดือนกันยายน ปีเดียวกัน แต่ครั้งหนึ่งหลังเรียนจบปีสอง เขาและเพื่อนได้ออกไปเที่ยวในคืนแห่งการสังสรรค์และดื่มเหล้า ฮิตเลอร์ที่กำลังมึนเมาอยู่นั้นได้ฉีกประกาศนียบัตรโรงเรียนออกเป็นสี่ส่วนและใช้เศษกระดาษเป็นกระดาษชำระ ประกาศนียบัตรที่เปรอะเปื้อนได้รับความสนใจจากผู้อำนวยการโรงเรียน เขา "ตำหนิฮิตเลอร์อย่างรุนแรงจนกระทั่งเด็กหดตัวเป็นเยลลี่ที่สั่นเทา มันอาจเป็นประสบการณ์ที่เจ็บปวดและน่าอับอายที่สุดในชีวิตของเขา"<ref>{{harvnb|Payne|1990|p=41}}</ref> ฮิตเลอร์ถูกไล่ออก และเขาไม่เคยกลับเข้าศึกษาในโรงเรียนอีกเลย
 
เมื่อฮิตเลอร์อายุได้ 15 ปี ฮิตเลอร์เข้าร่วมในพิธีรับศีลครั้งแรกในวันเพ็นเทคอสต์ วันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1904 ที่มหาวิหารลินซ์<ref>{{harvnb|Toland|1991|p=18}}</ref> ผู้สนับสนุนเขาคือเอมานูเอล ลูแคร์ท เพื่อนของบิดาในวัยชรา<ref>{{Citation|last=Jetzinger|first=Franz|authorlink=Franz Jetzinger|coauthors=|title=Hitler's youth|year=1976|publisher=Greenwood Press|location=Westport, Conn.|isbn=083718617X,|page=74}}</ref>
 
=== วัยผู้ใหญ่ช่วงต้นในเวียนนาและมิวนิก ===
 
[[ไฟล์:The Courtyard of the Old Residency in Munich - Adolf Hitler.jpg|thumb|200px|''The Alter Hof in Munich'' ผลงานสีน้ำของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ใน ค.ศ. 1914]]
[[ไฟล์:The Courtyard of the Old Residency in Munich - Adolf Hitler.jpg|thumb|200px|''The Alter Hof in Munich'' ผลงานสีน้ำของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ใน ค.ศ.1914]]
นับจาก ค.ศ. 1905 ฮิตเลอร์ได้ใช้ชีวิตแบบโบฮีเมี่ยนในเวียนนาด้วยเงินสงเคราะห์เด็กกำพร้าและการสนับสนุนจากมารดา เขาถูกปฏิเสธสองครั้งจากสถาบันวิจิตรศิลป์เวียนนา (ระหว่าง ค.ศ. 1907-08) ด้วยเหตุผลว่า "ไม่มีความเหมาะสมที่จะวาดภาพ" และผู้อำนวยการแนะนำว่า ความสามารถของเขาเหมาะกับด้าน[[สถาปัตยกรรม]]มากกว่า<ref>{{harvnb|Bullock|1962|pp=30–31}}</ref> อย่างไรก็ดี เขาขาดเอกสารแสดงวิทยฐานะซึ่งต้องใช้เข้าสถาบันสถาปัตยกรรม ภายหลัง ฮิตเลอร์เขียนว่า
นับจาก ค.ศ.1905 ฮิตเลอร์ได้ใช้ชีวิตแบบโบฮีเมี่ยนในเวียนนาด้วยเงินสงเคราะห์เด็กกำพร้าและการสนับสนุนจากมารดา เขาถูกปฏิเสธสองครั้งจากสถาบันวิจิตรศิลป์เวียนนา (ระหว่าง ค.ศ.1907-08) ด้วยเหตุผลว่า "ไม่มีความเหมาะสมที่จะวาดภาพ" และผู้อำนวยการแนะนำว่า ความสามารถของเขาเหมาะกับด้าน[[สถาปัตยกรรม]]มากกว่า<ref>{{harvnb|Bullock|1962|pp=30–31}}</ref> อย่างไรก็ดี เขาขาดเอกสารแสดงวิทยฐานะซึ่งต้องใช้เข้าสถาบันสถาปัตยกรรม ภายหลัง ฮิตเลอร์เขียนว่า
 
<blockquote>
เส้น 81 ⟶ 82:
<ref name=Kampf-vol1ch2>{{harvnb|Hitler|1998|loc=§2}}</ref></blockquote>
 
วันที่ 21 ธันวาคม ค.ศ. 1907 มารดาของฮิตเลอร์เสียชีวิตด้วย[[มะเร็งเต้านม]]เมื่อมีอายุได้ 47 ปี เขาทำงานเป็นศิลปินวาดภาพในเวียนนา ก่อนกลายมาเป็นจิตรกรขายภาพวาดสีน้ำมัน หลังถูกปฏิเสธเป็นครั้งที่สองโดยสถาบันศิลปะ ฮิตเลอร์ก็หมดเงิน ใน ค.ศ. 1909 เขาอาศัยอยู่ในสถานสงเคราะห์คนไร้บ้าน และภายใน ค.ศ. 1910 เขาได้ย้ายเข้าไปอาศัยในหอพักเมลเดมันน์สตราเซอ (Meldemannstraße) สำหรับกรรมกรหนุ่มยากจน<ref>{{Citation|last=Lehrer|first=Steven|title=Hitler Sites: A City-by-city Guidebook (Austria, Germany, France, United States)|publisher=McFarland|year=2002|page=224|isbn=0786410450}}</ref>
 
ฮิตเลอร์ระบุว่าเขากลายมาต่อต้านชาวยิวครั้งแรกในเวียนนา<ref name=Kampf-vol1ch2/> ที่ซึ่งมีชุมชนชาวยิวขนาดใหญ่อยู่ที่นั่น รวมทั้งยิวออร์โธด็อกซ์ ผู้ซึ่งหลบหนี[[โพกรม]]ในรัสเซีย
เส้น 95 ⟶ 96:
ในเวลาที่ฮิตเลอร์อาศัยอยู่ที่นั่น เวียนนาเป็นแหล่งเพาะอคติทางศาสนาดั้งเดิมและการเหยียดเชื้อชาติสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 ความกลัวว่าจะถูกล่วงล้ำโดยผู้อพยพจากทางตะวันออกแพร่ไปเป็นวงกว้าง และนายกเทศมนตรีคนนิยม คาร์ล ลือแกร์ ถนัดในการฉวยใช้วาทศิลป์ต่อต้านชาวยิวอย่างรุนแรงเพื่อผลทางการเมือง การต่อต้านชาวยิวรวมเชื้อชาติเยอรมัน (pangermanic ethnic antisemitism) ของเกออร์ก เชอเนเรอร์มีการติดตามและฐานแข็งแกร่งในอำเภอมาเรียฮิลฟ์ (Mariahilf) ซึ่งฮิตเลอร์อยู่{{sfn|Hamann|2010|pp=243–246}} หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น เช่น ดอยท์เชส โฟลก์สบลัทท์ (Deutsches Volksblatt) ที่ฮิตเลอร์อ่าน กระพืออคติ เช่นเดียวกับงานเขียนของรูดอลฟ์ แวร์บา (Rudolf Vrba) ซึ่งเล่นข่าวความกลัวของคริสต์ศาสนิกชนว่าจะถูกจมโดยการไหลบ่าเข้ามาของชาวยิวจากทางตะวันออก เป็นปรปักษ์ต่อสิ่งที่เขาเห็นว่าเป็น "ความกลัวเยอรมัน" ของคาทอลิก เขาจึงยกย่อง[[มาร์ติน ลูเทอร์]]อย่างสูง{{sfn|Hamann|2010|p=350}} งานเขียนต่อต้านชาวยิวอันเป็นรากฐานของลูเทอร์มีบทบาทสำคัญในการโฆษณาชวนเชื่อนาซีภายหลัง<ref name="Haynes2010" />
 
ฮิตเลอร์ได้รับมรดกส่วนสุดท้ายจากบิดาในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1913 และย้ายไปมิวนิก เขาเขียนในไมน์คัมพฟ์ว่า เขาเฝ้ารอวันที่จะได้อาศัยอยู่ในนครเยอรมัน "ที่แท้จริง" มาโดยตลอด ในมิวนิก เขายิ่งรู้สึกสนใจในสถาปัตยกรรมมากขึ้นไปอีกและศึกษางานเขียนของฮิวสตัน สจวร์ต แชมเบอร์เลน ผู้ซึ่ง อีกทศวรรษให้หลัง กลายเป็นบุคคลแรกในระดับชาติ และแม้กระทั่งระดับนานาชาติ ที่มีกิตติศัพท์ว่าประกาศสนับสนุนฮิตเลอร์และขบวนการนาซี<ref name="Field1981" /> ฮิตเลอร์ยังอาจเดินทางออกจากเวียนนาเพื่อเลี่ยง[[การเกณฑ์ทหาร|การถูกเกณฑ์]]เข้าสู่กองทัพออสเตรีย เขาไม่เต็มใจรับใช้รัฐฮับสบูร์กและถูกรังเกียจโดยอะไรที่เขารับรู้ว่าเป็นส่วนผสมของ "เชื้อชาติ" ในกองทัพออสเตรีย{{sfn|Shirer|1960|p=27}} หลังการทดสอบกายภาพเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1914 เขาถูกถือว่าสุขภาพไม่สมบูรณ์แก่การรับราชการและกลับไปมิวนิก{{sfn|Shirer|1960|p=27, footnote}} เมื่อเยอรมนีเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1914 เขาประสบความสำเร็จในการถวายฎีกาต่อพระเจ้าลุดวิกที่ 3 แห่งบาวาเรียขอพระบรมราชานุญาตให้รับราชการในกรมทหารบาวาเรีย{{sfn|Shirer|1960|pp=27–30}}
 
=== สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ===
 
ฮิตเลอร์รับราชการเป็นพลนำสารบนแนวรบด้านตะวันตกใน[[ฝรั่งเศส]]และ[[เบลเยียม]]ในกรมทหารกองหนุนบาวาเรียที่ 16 เขาเข้าร่วมรบในหลายยุทธการสำคัญ ทั้งยุทธการอีปราครั้งที่หนึ่ง ยุทธการแม่น้ำซอม ยุทธการอารัส และยุทธการพาซันดาลา<ref>{{harvnb|Shirer|1990|p=53}}</ref>
ฮิตเลอร์รับราชการเป็นพลนำสารบนแนวรบด้านตะวันตกใน[[ฝรั่งเศส]]และ[[เบลเยียม]]ในกรมทหารกองหนุนบาวาเรียที่ 16 เขาเข้าร่วมรบในหลายยุทธการสำคัญ ทั้งยุทธการอีปร์ครั้งที่หนึ่ง ยุทธการแม่น้ำซอม ยุทธการอารัส และยุทธการพาซันดาลา<ref>{{harvnb|Shirer|1990|p=53}}</ref>
 
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1974-082-44, Adolf Hitler im Ersten Weltkrieg.jpg|left|thumb|ฮิตเลอร์กับเพื่อนทหารในกรมทหารกองหนุนบาวาเรียที่ 16 ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]
ฮิตเลอร์ได้รับเชิดชูเกียรติสำหรับความกล้าหาญ ได้รับเหรียญกางเขนเหล็กชั้นที่สอง ใน ค.ศ. 1914 และกางเขนเหล็กชั้นที่หนึ่ง เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 1918{{sfn|Kershaw|2008|p=59}} โดยได้รับการเสนอชื่อโดย ฮูโก กุทมันน์ รางวัลซึ่งน้อยครั้งที่จะมอบให้แก่ทหารชั้นผู้น้อยเช่นพลทหารอย่างเขา ตำแหน่งของฮิตเลอร์ที่กองบัญชาการกรม ทำให้เขามีปฏิสัมพันธ์บ่อยครั้งกับนายทหารอาวุโส อาจช่วยให้เขาได้รับเครื่องอิสริยภรณ์นี้{{sfn|Bullock|1962|p=52}} อย่างไรก็ดี เสนาธิการประจำกรมคิดว่าฮิตเลอร์ขาดทักษะความเป็นผู้นำ และเขาจึงไม่เคยได้รับการเลื่อนยศ เขายังได้รับเข็มกลัดผู้บาดเจ็บเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1918<ref name="Steiner1976" />
 
[[ไฟล์:Hitler 1914 1918.jpg|thumb|upright|อดอล์ฟ ฮิตเลอร์เป็นทหารระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]
ระหว่างรับราชการที่กองบัญชาการประจำกรม ฮิตเลอร์ยังสร้างสรรค์งานศิลปะของตนต่อไป โดยวาดการ์ตูนและคำชี้แจงแก่หนังสือพิมพ์กองทัพ ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1916 เขาได้รับบาดเจ็บที่บริเวณขาหนีบ<ref>Alastair Jamieson, [http://www.telegraph.co.uk/news/newstopics/howaboutthat/3481932/Nazi-leader-Hitler-really-did-have-only-one-ball.html ''Nazi leader Hitler really did have only one ball.html''], [[The Daily Telegraph]], retrieved on 20 November 2008</ref> หรือต้นขาซ้ายเมื่อกระสุนปืนใหญ่ระเบิดในหลุมของพลนำสารระหว่างยุทธการแม่น้ำซอม{{sfn|Kershaw|2008|p=57}} ฮิตเลอร์ใช้เวลาเกือบสองเดือนในโรงพยาบาลกาชาดที่บีลิทซ์ เขากลับมายังกรมของเขาเมื่อวันที่ 5 มีนาคม ค.ศ. 1917{{sfn|Kershaw|2008|p=58}} วันที่ 15 ตุลาคม ค.ศ. 1918 ฮิตเลอร์ตาบอดชั่วคราวจากการโจมตีด้วยแก๊สมัสตาร์ด{{sfn|Kershaw|2008|pp=59, 60}} มีการเสนอว่าการตาบอดของเขาอาจเป็นอาการทางประสาทที่เกิดขึ้นเพาะความช็อกที่ความสำเร็จในสงครามของเยอรมนีพลิกผันอย่างรวดเร็ว<ref name="FestHitler" /> เขาเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในพาเซอวัลก์
 
ฮิตเลอร์รู้สึกขมขื่นต่อความพยายามของสงครามที่พังทลายลง ระหว่างช่วงนี้เองที่การพัฒนาอุดมการณ์ของเขาเริ่มเป็นรูปเป็นร่างอย่างมั่นคง{{sfn|Kershaw|2008|pp=61, 62}} เขาอธิบายสงครามว่าเป็น "ประสบการณ์ยิ่งใหญ่ที่สุดเหนืออื่นใด" และได้รับการยกย่องจากนายทหารผู้บังคับบัญชาสำหรับความกล้าหาญของเขา{{sfn|Keegan|1987|pp=238–240}} ประสบการณ์นี้ส่งผลให้ฮิตเลอร์เป็นผู้รักชาติเยอรมันอย่างหลงใหล และรู้สึกช็อกเมื่อเยอรมนียอมจำนนในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1918{{sfn|Bullock|1962|p=60}} เช่นเดียวกับพวกชาตินิยมเยอรมันอื่นทั้งหลาย เขาเชื่อใน[[แนวคิดการลอบแทงข้างหลัง]] ซึ่งอ้างว่ากองทัพ "ไม่ได้พ่ายในสมรภูมิ" ได้ถูก "แทงข้างหลัง" โดยผู้นำพลเรือนและพวก[[ลัทธิมากซ์]]จากแนวหลัง นักการเมืองเหล่านี้ภายหลังถูกขนานนามว่า "อาชญากรพฤศจิกายน"{{sfn|Kershaw|2008|pp=61–63}}
 
[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]]กำหนดให้เยอรมนีต้องสละดินแดนหลายแห่งและให้[[ไรน์แลนด์]]ปลอดทหาร สนธิสัญญากำหนดการลงโทษทางเศรษฐกิจและเรียกเก็บค่าปฏิกรรมจากประเทศ ชาวเยอรมันจำนวนมากเข้าใจว่าสนธิสัญญานี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[ข้อ 231 ของสนธิสัญญาแวร์ซาย|ข้อ 231]] ซึ่งประกาศให้เยอรมนีรับผิดชอบต่อสงคราม เป็นการทำให้อัปยศ{{sfn|Kershaw|2008|p=96}} สภาพทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองในเยอรมนีได้รับผลกระทบจากสงครามและสนธิสัญญาแวร์ซายภายหลังถูกใช้ประโยชน์จากฮิตเลอร์เพื่อประโยชน์ทางการเมือง{{sfn|Kershaw|2008|pp=80, 90, 92}}
เส้น 113 ⟶ 115:
 
=== สมาชิกพรรคกรรมกร ===
 
หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งยุติลง ฮิตเลอร์ยังรับราชการอยู่ในกองทัพและกลับมายังมิวนิก{{sfn|Bullock|1999|p=61}} ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1919 เขาได้รับแต่งตั้งเป็นแวร์บินดุงสมันน์ (เจ้าหน้าที่การข่าว) แห่งเอาฟ์แคลรุงส์คอมมันโด (คอมมานโดลาดตระเวน) ของไรช์สเวร์ ซึ่งทั้งมีอิทธิพลต่อทหารอื่นและเพื่อแทรกซึมพรรคกรรมกรเยอรมัน (DAP) ระหว่างที่เขาศึกษากิจกรรมของพรรค DAP ฮิตเลอร์กลายมาประทับใจกับการต่อต้านยิว ชาตินิยม ต่อต้านทุนนิยม และต่อต้านมากซิสต์ของอันตอน เดร็กซ์แลร์ ผู้ก่อตั้งพรรค{{sfn|Kershaw|2008|p=82}} เดร็กซ์แลร์สนับสนุนรัฐบาลที่มีศักยะแข็งขัน สังคมนิยมรุ่นที่ "ไม่ใช่ยิว" และความสามัคคีท่ามกลางสมาชิกทั้งหมดของสังคม ด้วยประทับใจกับทักษะวาทศิลป์ของฮิตเลอร์ เดร็กซ์แลร์จึงเชิญเขาเข้าร่วม DAP ฮิตเลอร์ยอมรับเมื่อวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 1919<ref name="Stackelberg2007" /> เป็นสมาชิกคนที่ 55 ของพรรค<ref name="Mitcham1996" />
หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งยุติลง ฮิตเลอร์ยังรับราชการอยู่ในกองทัพและกลับมายังมิวนิก{{sfn|Bullock|1999|p=61}} ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1919 เขาได้รับแต่งตั้งเป็นแวร์บินดุงสมันน์ (เจ้าหน้าที่การข่าว) แห่งเอาฟ์แคลรุงส์คอมมันโด (คอมมานโดลาดตระเวน) ของไรช์สเวร์ ซึ่งทั้งมีอิทธิพลต่อทหารอื่นและเพื่อแทรกซึมพรรคกรรมกรเยอรมัน (DAP) ระหว่างที่เขาศึกษากิจกรรมของพรรค DAP ฮิตเลอร์กลายมาประทับใจกับการต่อต้านยิว ชาตินิยม ต่อต้านทุนนิยม และต่อต้านมากซิสต์ของอันตอน เดร็กซ์แลร์ ผู้ก่อตั้งพรรค{{sfn|Kershaw|2008|p=82}} เดร็กซ์แลร์สนับสนุนรัฐบาลที่มีศักยะแข็งขัน สังคมนิยมรุ่นที่ "ไม่ใช่ยิว" และความสามัคคีท่ามกลางสมาชิกทั้งหมดของสังคม ด้วยประทับใจกับทักษะวาทศิลป์ของฮิตเลอร์ เดร็กซ์แลร์จึงเชิญเขาเข้าร่วม DAP ฮิตเลอร์ยอมรับเมื่อวันที่ 12 กันยายน ค.ศ.1919<ref name="Stackelberg2007" /> เป็นสมาชิกคนที่ 55 ของพรรค<ref name="Mitcham1996" />
 
[[ไฟล์:Hitlermember.png|thumb|left|สำเนาบัตรสมาชิกพรรคกรรมกรเยอรมันของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]
ที่ DAP ฮิตเลอร์พบดีทริช เอคคาร์ท หนึ่งในสมาชิกคนแรก ๆ ของพรรคและสมาชิกของลัทธิทูเลอโซไซตี{{sfn|Fest|1970|p=21}} เอคคาร์ทได้กลายมาเป็นผู้ให้คำปรึกษาแก่ฮิตเลอร์ แลกเปลี่ยนความคิดกับเขา และแนะนำเขาให้รู้จักกับบุคคลในสังคมมิวนิกอย่างกว้างขวาง{{sfn|Kershaw|2008|pp=94, 95, 100}} ฮิตเลอร์ขอบคุณเอคคาร์ทโดยแสดงความชื่นชมเขาในไมน์คัมพฟ์ฉบับพิมพ์ครั้งที่สอง ในการเพิ่มความน่าดึงดูดของพรรค ทางพรรคได้เปลี่ยนชื่อเป็น "นาซิโยนนัลโซซีอัลลิสทีเชอ ดอยท์เชอ อาร์ไบแทร์พาร์ไท" หรือ พรรคสังคมนิยมกรรมกรแห่งชาติเยอรมัน (ย่อเป็น NSDAP){{sfn|Kershaw|2008|p=87}} ฮิตเลอร์ออกแบบธงของพรรคเป็นสวัสดิกะในวงกลมสีขาวบนพื้นหลังสีแดง{{sfn|Kershaw|2008|p=88}}
 
หลังถูกปลดประจำการในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1920 ฮิตเลอร์เริ่มทำงานเต็มเวลาให้แก่พรรค ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1921 ฮิตเลอร์ ซึ่งสามารถปราศรัยต่อผู้ฟังจำนวนมากได้เป็นผลดีแล้ว ปราศรัยแก่ฝูงชนมากกว่าหกพันคนในมิวนิก{{sfn|Kershaw|2008|p=89}} ในการประกาศเผยแพร่การชุมนุมดังกล่าว ผู้สนับสนุนพรรคสองคันรถบรรทุกขับไปรอบเมืองและโบกธงสวัสดิกะและโยนใบปลิว ไม่นานฮิตเลอร์ได้รับชื่อเสียงในทางไม่ดีจากความเอะอะโวยวายและการปราศรัยโจมตีสนธิสัญญาแวร์ซาย นักการเมืองคู่แข่ง และโดยเฉพาะอย่างยิ่งพวกมากซิสต์และยิว{{sfn|Kershaw|2008|pp=89–92}} ขณะนั้น NSCAP มีศูนย์กลางอยู่ในมิวนิก แหล่งเพาะหลักของลัทธิชาตินิยมเยอรมันต่อต้านรัฐบาลซึ่งตั้งใจบดขยี้ลัทธิมากซ์และบ่อนทำลาย[[สาธารณรัฐไวมาร์]]{{sfn|Kershaw|2008|p=81}}
 
ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1921 ระหว่างที่ฮิตเลอร์และเอคคาร์ทกำลังอยู่ระหว่างการเดินทางไประดมทุนยังเบอร์ลิน ได้เกิดการจลาจลขึ้นภายในพรรค DAP ในมิวนิก สมาชิกคณะกรรมการบริหารพรรค DAP ซึ่งบางคนมองว่าฮิตเลอร์ยโสเกินไป ต้องการผนวกรวมกับพรรคสังคมนิยมเยอรมัน (DSP) คู่แข่ง{{sfn|Kershaw|2008|pp=100, 101}} ฮิตเลอร์เดินทางกลับมิวนิกเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1921 และยื่นใบลาออกจากพรรคด้วยความโกรธ สมาชิกกรรมการตระหนักว่าการลาออกของเขาจะหมายถึงจุดจบของพรรค{{sfn|Kershaw|2008|p=102}} ฮิตเลอร์ประกาศจะกลับเข้าพรรคอีกครั้งเมื่อเขาเป็นหัวหน้าพรรคแทนเดร็กซ์แลร์ และที่ทำการพรรคจะยังอยู่ในมิวนิกต่อไป{{sfn|Kershaw|2008|p=103}} คณะกรรมการตกลง เขาเข้าร่วมพรรคอีกครั้งเป็นสมาชิกคนที่ 3,680 เขายังเผชิญกับการคัดค้านภายในพรรคบ้าง แฮร์มันน์ เอสแซร์และพันธมิตรของเขาพิมพ์แผ่นพับ 3,000 แผ่นโจมตีฮิตเลอร์ว่าเป็นผู้ทรยศพรรค{{sfn|Kershaw|2008|p=103}} ไม่กี่วันให้หลัง ฮิตเลอร์กล่าวแก้ต่างและได้รับเสียงปรบมือดังสนั่น ยุทธศาสตร์ของเขาพิสูจน์แล้วว่าประสบผล ที่การประชุมใหญ่สมาชิกพรรค DAP เขาได้รับอำนาจเต็มในฐานะหัวหน้าพรรค โดยได้รับเสียงคัดค้านเพียงเสียงเดียว{{sfn|Kershaw|2008|pp=83, 103}} ฮิตเลอร์ยังได้รับการชดใช้จากคดีหมิ่นประมาทกับหนังสือพิมพ์สังคมนิยม มึนเชแนร์ โพสต์ ซึ่งตั้งคำถามถึงวิถีชีวิตและรายได้ของเขา{{sfn|Kershaw|2008|p=99}}
 
สุนทรพจน์โรงเบียร์ของฮิตเลอร์ กล่าวโจมตียิว สังคมประชาธิปไตย [[เสรีนิยม]] กษัตริย์นิยมฝ่ายขวา พวกทุนนิยมและคอมมิวนิสต์ เริ่มดึงดูดกลุ่มผู้สนับสนุนขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ ผู้ติดตามตั้งแต่ช่วงแรก ๆ รวมไปถึง [[รูดอล์ฟ เฮสส์]] อดีตนักบินกองทัพอากาศ [[แฮร์มันน์ เกอริง]] และร้อยเอกกองทัพบก แอร์นสก์ โรห์ม ผู้ซึ่งต่อมาเป็นหัวหน้าขององค์การ[[กำลังกึ่งทหาร]]ของนาซี เอสเอ (สทูร์มับไทลุง หรือ "กองพลพายุ") ซึ่งคอยรักษาความปลอดภัยให้แก่การชุมนุมและโจมตีคู่แข่งทางการเมือง เช่นเดียวกัน ฮิตเลอร์ยังได้รับกลุ่มอิสระเข้าเป็นสมาชิก อย่างเช่น ดอยท์เชอ แวร์คเกเมอินชัฟท์ ซึ่งตั้งอยู่ใน[[เนือร์นแบร์ก]] นำโดยจูลิอุส สไทรแชร์ ผู้ซึ่งได้กลายมาเป็นเกาไลแตร์แห่ง[[ฟรังโคเนีย]] ฮิตเลอร์ยังได้ดึงดูดความสนใจของกลุ่มผลประโยชน์ธุรกิจท้องถิ่น ได้รับการยอมรับเข้าเป็นกลุ่มผู้มีอิทธิพลในสังคมมิวนิก และทำความรู้จักกับนายทหารสงครามโลก พลเอกเอริค ลูเดนดอร์ฟฟ์ ระหว่างช่วงเวลานี้
เส้น 127 ⟶ 130:
 
=== กบฏโรงเบียร์ ===
ฮิตเลอร์ขอความช่วยเหลือจากพลเอกสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง อีริช ลูเดนดอร์ฟฟ์ สำหรับพยายามก่อรัฐประหารที่เรียกว่า "กบฏโรงเบียร์" พรรคนาซีได้ใช้ลัทธิฟาสซิสต์อิตาลีเป็นแบบสำหรับลักษณะภายนอกและนโยบาย และใน ค.ศ. 1923 ฮิตเลอร์ต้องการเลียนแบบ "[[การสวนสนามแห่งโรม]]" ของ[[เบนิโต มุสโสลินี]] โดยจัด "การรณรงค์ในเบอร์ลิน" ของเขาเอง ฮิตเลอร์และลูเดนดอร์ฟฟ์เสาะหาการสนับสนุนจากสทาทส์คอมมิสซาร์ (ผู้ตรวจการรัฐ) กุสทัฟ ฟอน คาฮร์ ผู้ปกครองโดยพฤตินัยของรัฐบาวาเรีย อย่างไรก็ดี คาฮร์ และหัวหน้าตำรวจ ฮันส์ ริทแทร์ ฟอน ไซส์แซร์ และพลเอกไรช์สเวร์ ออทโท ฟอน ลอสซอ ต้องการประดิษฐานเผด็จการชาตินิยมโดยปราศจากฮิตเลอร์{{sfn|Kershaw|2008|p=126}}
 
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 102-00344A, München, nach Hitler-Ludendorff Prozess.jpg|thumb|250px|จำเลยในการพิจารณากบฏโรงเบียร์ ฮิตเลอร์เป็นคนที่สี่นับจากขวาสุด]]
ฮิตเลอร์ต้องการฉวยโอกาสสำคัญเพื่อการปลุกปั่นและการสนับสนุนของประชาชนอย่างได้ผล{{sfn|Kershaw|2008|p=125}} วันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1923 เขาและ SA โจมตีการประชุมสาธารณะที่มีผู้เข้าร่วม 3,000 คน ซึ่งจัดโดยคาฮร์ในเบือร์แกร์บรอยเคลแลร์ โรงเบียร์ขนาดใหญ่ในมิวนิก ฮิตเลอร์ขัดจังหวะปราศรัยของคาฮร์และประกาศว่าการปฏิวัติแห่งชาติเริ่มต้นขึ้น ประกาศจัดตั้งรัฐบาลใหม่กับลูเดนดอร์ฟฟ์{{sfn|Kershaw|2008|p=128}} โดยชักปืนพกออกมา ฮิตเลอร์ต้องการและได้รับการสนับสนุนจากคาฮร์ ไซส์แซร์และลอสซอ{{sfn|Kershaw|2008|p=128}} กองกำลังของฮิตเลอร์ประสบความสำเร็จช่วงแรกในการยึดไรช์สเวร์และกองบังคับการตำรวจท้องถิ่น อย่างไรก็ดี ไม่มีกองทัพหรือตำรวจรัฐเข้าร่วมกับกองกำลังของเขา{{sfn|Kershaw|2008|p=129}} คาฮร์และเพื่อนของเขารีบถอนการสนับสนุนของตนและหนีไปเข้ากับฝ่ายต่อต้านฮิตเลอร์{{sfn|Shirer|1960|pp=71–72}} วันรุ่งขึ้น ฮิตเลอร์และผู้ติดตามเดินขบวนจากโรงเบียร์ไปยังกระทรวงสงครามเพื่อล้มรัฐบาลบาวาเรียระหว่าง "การสวนสนามแห่งเบอร์ลิน" แต่ตำรวจสลายการชุมนุม{{sfn|Kershaw|2008|pp=130–131}} สมาชิก NSDAP สิบหกคนและเจ้าหน้าที่ตำรวจสี่นายถูกสังหารไปในรัฐประหารที่ล้มเหลว{{sfn|Shirer|1960|pp=73–74}}
 
ฮิตเลอร์ต้องการฉวยโอกาสสำคัญเพื่อการปลุกปั่นและการสนับสนุนของประชาชนอย่างได้ผล{{sfn|Kershaw|2008|p=125}} วันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ.1923 เขาและ SA โจมตีการประชุมสาธารณะที่มีผู้เข้าร่วม 3,000 คน ซึ่งจัดโดยคาฮร์ในเบือร์แกร์บรอยเคลแลร์ โรงเบียร์ขนาดใหญ่ในมิวนิก ฮิตเลอร์ขัดจังหวะปราศรัยของคาฮร์และประกาศว่าการปฏิวัติแห่งชาติเริ่มต้นขึ้น ประกาศจัดตั้งรัฐบาลใหม่กับลูเดนดอร์ฟฟ์{{sfn|Kershaw|2008|p=128}} โดยชักปืนพกออกมา ฮิตเลอร์ต้องการและได้รับการสนับสนุนจากคาฮร์ ไซส์แซร์และลอสซอ{{sfn|Kershaw|2008|p=128}} กองกำลังของฮิตเลอร์ประสบความสำเร็จช่วงแรกในการยึดไรช์สเวร์และกองบังคับการตำรวจท้องถิ่น อย่างไรก็ดี ไม่มีกองทัพหรือตำรวจรัฐเข้าร่วมกับกองกำลังของเขา{{sfn|Kershaw|2008|p=129}} คาฮร์และเพื่อนของเขารีบถอนการสนับสนุนของตนและหนีไปเข้ากับฝ่ายต่อต้านฮิตเลอร์{{sfn|Shirer|1960|pp=71–72}} วันรุ่งขึ้น ฮิตเลอร์และผู้ติดตามเดินขบวนจากโรงเบียร์ไปยังกระทรวงสงครามเพื่อล้มรัฐบาลบาวาเรียระหว่าง "การสวนสนามแห่งเบอร์ลิน" แต่ตำรวจสลายการชุมนุม{{sfn|Kershaw|2008|pp=130–131}} สมาชิก NSDAP สิบหกคนและเจ้าหน้าที่ตำรวจสี่นายถูกสังหารไปในรัฐประหารที่ล้มเหลว{{sfn|Shirer|1960|pp=73–74}}
ฮิตเลอร์หลบหนีไปยังบ้านของแอร์นสท์ ฮันฟ์สทาเองล์ และหลักฐานบางชิ้นชี้ว่าเขาพยายามทำอัตวินิบาตกรรม{{sfn|Kershaw|2008|p=132}} เขารู้สึกหดหู่แต่สงบลงเมื่อเขาถูกจับกุมในวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1923 ด้วยข้อหากบฏ{{sfn|Kershaw|2008|p=131}} การพิจารณาคดีของเขาเริ่มขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1924 ต่อหน้าศาลประชาชนพิเศษในมิวนิก<ref name="MunichCourt1924" /> และอัลเฟรด โรเซนแบร์กเป็นผู้นำชั่วคราวของ NSDAP แทน วันที่ 1 เมษายน ฮิตเลอร์ถูกตัดสินจำคุกห้าปีในเรือนจำลันด์สแบร์ก<ref name="Fulda2009" /> เขาได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นมิตรจากผู้คุมและจดหมายจำนวนมากจากผู้สนับสนุน ศาลสูงสุดบาวาเรียได้อภัยโทษและเขาถูกปล่อยตัวจากเรือนจำเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม ค.ศ. 1924 โดยขัดต่อการทัดทานของอัยการรัฐ{{sfn|Kershaw|1999|p=239}} ซึ่งหากรวมเวลาระหว่างคุมขังรอการพิจารณาคดีแล้ว ฮิตเลอร์ได้รับโทษในเรือนจำทั้งสิ้นเกินหนึ่งปีเล็กน้อยเท่านั้น{{sfn|Bullock|1962|p=121}}
 
ฮิตเลอร์หลบหนีไปยังบ้านของแอร์นสท์ ฮันฟ์สทาเองล์ และหลักฐานบางชิ้นชี้ว่าเขาพยายามทำอัตวินิบาตกรรม{{sfn|Kershaw|2008|p=132}} เขารู้สึกหดหู่แต่สงบลงเมื่อเขาถูกจับกุมในวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ.1923 ด้วยข้อหากบฏ{{sfn|Kershaw|2008|p=131}} การพิจารณาคดีของเขาเริ่มขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ.1924 ต่อหน้าศาลประชาชนพิเศษในมิวนิก<ref name="MunichCourt1924" /> และอัลเฟรด โรเซนแบร์กเป็นผู้นำชั่วคราวของ NSDAP แทน วันที่ 1 เมษายน ฮิตเลอร์ถูกตัดสินจำคุกห้าปีในเรือนจำลันด์สแบร์ก<ref name="Fulda2009" /> เขาได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นมิตรจากผู้คุมและจดหมายจำนวนมากจากผู้สนับสนุน ศาลสูงสุดบาวาเรียได้อภัยโทษและเขาถูกปล่อยตัวจากเรือนจำเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม ค.ศ.1924 โดยขัดต่อการทัดทานของอัยการรัฐ{{sfn|Kershaw|1999|p=239}} ซึ่งหากรวมเวลาระหว่างคุมขังรอการพิจารณาคดีแล้ว ฮิตเลอร์ได้รับโทษในเรือนจำทั้งสิ้นเกินหนึ่งปีเล็กน้อยเท่านั้น{{sfn|Bullock|1962|p=121}}
ขณะถูกจองจำอยู่ที่เรือนจำลันด์สแบร์ก เขาได้อุทิศ[[ไมน์คัมพฟ์]] ("การต่อสู้ของข้าพเจ้า" เดิมชื่อ "สี่ปีครึ่งกับการต่อสู้กับคำโกหก ความเขลาและความขลาด") ฉบับตีพิมพ์ครั้งแรก ให้แก่ผู้ช่วยของเขา รูดอล์ฟ เฮสส์{{sfn|Bullock|1962|p=121}} ไมน์ คัมพฟ์ ซึ่งอุทิศให้กับสมาชิกทูเลอโซไซตี ดีทริช เอคคาร์ท เป็นทั้งอัตชีวประวัติและการแถลงอุดมการณ์ของเขา ไมน์คัมพฟ์ได้รับอิทธิพลจากหนังสือ ''The Passing of the Great Race'' โดยเมดิสัน แกรนท์ ซึ่งฮิตเลอร์เรียกว่า "[[ไบเบิล]]ของฉัน"<ref name="Spiro2008" /> ไมน์คัมพฟ์ได้รับการตีพิมพ์สองครั้งใน ค.ศ. 1925 และ 1926 ขายได้ประมาณ 228,000 เล่มระหว่าง ค.ศ. 1925 และ 1932 ใน ค.ศ. 1933 ซึ่งเป็นปีที่ฮิตเลอร์เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ขายได้หนึ่งล้านเล่ม{{sfn|Shirer|1960|pp=80–81}} หนังสือเล่มนี้เผยแผนการของฮิตเลอร์ในการสร้างเยอรมนีให้เป็นสังคมใหม่ที่ตั้งอยู่บนเชื้อชาติ รวมทั้ง[[พันธุฆาต]]{{sfn|Kershaw|2008|pp=148–149}}
 
ขณะถูกจองจำอยู่ที่เรือนจำลันด์สแบร์ก เขาได้อุทิศ[[ไมน์คัมพฟ์]] ("การต่อสู้ของข้าพเจ้า" เดิมชื่อ "สี่ปีครึ่งกับการต่อสู้กับคำโกหก ความเขลาและความขลาด") ฉบับตีพิมพ์ครั้งแรก ให้แก่ผู้ช่วยของเขา รูดอล์ฟ เฮสส์{{sfn|Bullock|1962|p=121}} ไมน์ คัมพฟ์ ซึ่งอุทิศให้กับสมาชิกทูเลอโซไซตี ดีทริช เอคคาร์ท เป็นทั้งอัตชีวประวัติและการแถลงอุดมการณ์ของเขา ไมน์คัมพฟ์ได้รับอิทธิพลจากหนังสือ ''The Passing of the Great Race'' โดยเมดิสัน แกรนท์ ซึ่งฮิตเลอร์เรียกว่า "[[ไบเบิล]]ของฉัน"<ref name="Spiro2008" /> ไมน์คัมพฟ์ได้รับการตีพิมพ์สองครั้งใน ค.ศ.1925 และ 1926 ขายได้ประมาณ 228,000 เล่มระหว่าง ค.ศ.1925 และ 1932 ใน ค.ศ. 1933 ซึ่งเป็นปีที่ฮิตเลอร์เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ขายได้หนึ่งล้านเล่ม{{sfn|Shirer|1960|pp=80–81}} หนังสือเล่มนี้เผยแผนการของฮิตเลอร์ในการสร้างเยอรมนีให้เป็นสังคมใหม่ที่ตั้งอยู่บนเชื้อชาติ รวมทั้ง[[พันธุฆาต]]{{sfn|Kershaw|2008|pp=148–149}}
 
=== การสร้างพรรคใหม่ ===
 
เมื่อฮิตเลอร์ถูกปล่อยตัวจากเรือนจำนั้น การเมืองในเยอรมนีได้สงบลงและเศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว ซึ่งจำกัดโอกาสของฮิตเลอร์ในการปลุกระดมทางการเมือง ผลของกบฏโรงเบียร์ที่ล้มเหลว ทำให้ NSDAP และองค์การสืบเนื่องถูกกฎหมายห้ามในรัฐบาวาเรีย ในการประชุมกับนายกรัฐมนตรีแห่งบาวาเรีย ไฮน์ริช เฮลด์ เมื่อวันที่ 4 มกราคม ค.ศ. 1925 ฮิตเลอร์ตกลงที่จะเคารพอำนาจโดยชอบของรัฐ และเขาจะมุ่งแสวงหาอำนาจทางการเมืองเฉพาะผ่านกระบวนการทางประชาธิปไตยเท่านั้น การประชุมดังกล่าวนำไปสู่การยกเลิกการห้าม NSDAP{{sfn|Kershaw|2008|pp=158, 161, 162}} อย่างไรก็ดี ฮิตเลอร์ยังถูกห้ามมิให้ปราศรัยต่อสาธารณชน{{sfn|Kershaw|2008|pp=162, 166}} ซึ่งยังมีผลไปจนถึง ค.ศ. 1927{{sfn|Shirer|1960|p=129}} ในการรุกหน้าความทะเยอทะยานทางการเมืองแม้จะมีการสั่งห้ามนี้ ฮิตเลอร์แต่งตั้งเกรกอร์ สทรัสเซอ, ออทโท สทรัสเซอ และ[[โยเซฟ เกิบเบิลส์]]ให้จัดการและขยาย NSDAP ทางตอนเหนือของเยอรมนี ด้วยความเป็นผู้จัดที่ยอดเยี่ยม เกรกอร์ สทรัสเซอได้เดินหน้าวิถีการเมืองที่เป็นอิสระมากขึ้น โดยเน้นองค์ประกอบของสังคมนิยมในโครงการพรรค{{sfn|Kershaw|2008|pp=166, 167}}
เมื่อฮิตเลอร์ถูกปล่อยตัวจากเรือนจำนั้น การเมืองในเยอรมนีได้สงบลงและเศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว ซึ่งจำกัดโอกาสของฮิตเลอร์ในการปลุกระดมทางการเมือง ผลของกบฏโรงเบียร์ที่ล้มเหลว ทำให้ NSDAP และองค์การสืบเนื่องถูกกฎหมายห้ามในรัฐบาวาเรีย ในการประชุมกับนายกรัฐมนตรีแห่งบาวาเรีย ไฮน์ริช เฮลด์ เมื่อวันที่ 4 มกราคม ค.ศ.1925 ฮิตเลอร์ตกลงที่จะเคารพอำนาจโดยชอบของรัฐ และเขาจะมุ่งแสวงหาอำนาจทางการเมืองเฉพาะผ่านกระบวนการทางประชาธิปไตยเท่านั้น การประชุมดังกล่าวนำไปสู่การยกเลิกการห้าม NSDAP{{sfn|Kershaw|2008|pp=158, 161, 162}} อย่างไรก็ดี ฮิตเลอร์ยังถูกห้ามมิให้ปราศรัยต่อสาธารณชน{{sfn|Kershaw|2008|pp=162, 166}} ซึ่งยังมีผลไปจนถึง ค.ศ.1927{{sfn|Shirer|1960|p=129}} ในการรุกหน้าความทะเยอทะยานทางการเมืองแม้จะมีการสั่งห้ามนี้ ฮิตเลอร์แต่งตั้งเกรกอร์ สทรัสเซอ, ออทโท สทรัสเซอ และ[[โยเซฟ เกิบเบิลส์]]ให้จัดการและขยาย NSDAP ทางตอนเหนือของเยอรมนี ด้วยความเป็นผู้จัดที่ยอดเยี่ยม เกรกอร์ สทรัสเซอได้เดินหน้าวิถีการเมืองที่เป็นอิสระมากขึ้น โดยเน้นองค์ประกอบของสังคมนิยมในโครงการพรรค{{sfn|Kershaw|2008|pp=166, 167}}
 
ฮิตเลอร์ปกครอง NSDAP โดยอัตโนมัติโดยอ้างฟือแรร์พรินซิพ ("หลักการผู้นำ") ตำแหน่งภายในพรรคไม่ถูกกำหนดโดยการเลือกตั้ง แต่จะถูกบรรจุผ่านการแต่งตั้งโดยผู้มีตำแหน่งสูงกว่า ซึ่งต้องการการเชื่อฟังโดยไม่มีการตั้งคำถามต่อประสงค์ของผู้นำ{{sfn|Kershaw|2008|pp=170, 172}}
 
ตลาดหลักทรัพย์ในสหรัฐอเมริกาตกเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1929 ผลกระทบในเยอรมนีนั้นเลวร้ายมาก หลายล้านคนตกงานและธนาคารหลักหลายแห่งต้องปิดกิจการ ฮิตเลอร์และ NSDAP เตรียมฉวยโอกาสจากเหตุฉุกเฉินเพื่อเรียกเสียงสนับสนุนแก่พรรค พวกเขาสัญญาว่าจะบอกเลิกสนธิสัญญาแวร์ซาย เสริมสร้างเศรษฐกิจและจัดหางาน{{sfn|Shirer|1960|pp=136–137}}
 
== การก้าวขึ้นสู่อำนาจ ==
 
=== รัฐบาลบรือนิง ===
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 183-S38324, Tag von Potsdam, Adolf Hitler, Paul v. Hindenburg.jpg|thumb|พอล ฟอน ฮินเดนบูร์กกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ 21 มีนาคม ค.ศ. 1933]]
[[ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่]]ในเยอรมนีใน ค.ศ. 1930 เป็นโอกาสทางการเมืองแก่ฮิตเลอร์ เยอรมนีลังเลต่อสาธารณรัฐรัฐสภา ซึ่งเผชิญกับปัญหาคุกคามสำคัญจากทั้งพวกสุดโต่งฝ่ายขวาและซ้าย พรรคการเมืองสายกลางค่อยไม่สามารถหยุดยั้งกระแสแห่งลัทธิสุดโต่งมากขึ้นทุกที และการลงประชามติเยอรมนี ค.ศ. 1929 ช่วยยกระดับอุดมการณ์นาซี<ref name="Kolb1988" /> การเลือกตั้งเมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 1930 ส่งผลให้รัฐบาลผสมชุดใหญ่แตกหักและแทนที่โดยคณะรัฐมนตรีข้างน้อย ผู้นำ นายกรัฐมนตรีไฮน์ริช บือนิงแห่งพรรคกลาง ปกครองโดยกฤษฎีกาฉุกเฉินจากประธานาธิบดี พอล ฟอน ฮินเดนบูร์ก การปกครองโดยกฤษฎีกาจะกลายเป็นบรรทัดฐานใหม่และปูทางแก่รัฐบาลแบบ[[อำนาจนิยม]]{{sfn|Halperin|1965|p=403 ''et. seq''}} NSDAP เติบโตจากพรรคที่ไม่มีใครรู้จักและได้คะแนนเสียง 18.3% และ 107 ที่นั่งในรัฐสภาในการเลือกตั้ง ค.ศ. 1930 กลายมาเป็นพรรคใหญ่ที่สุดอันดับสองในสภา{{sfn|Halperin|1965|pp=434–446 ''et. seq.''}}
 
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 183-S38324, Tag von Potsdam, Adolf Hitler, Paul v. Hindenburg.jpg|thumb|พอล ฟอน ฮินเดนบูร์กกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ 21 มีนาคม ค.ศ.1933]]
ฮิตเลอร์ปรากฏกายครั้งสำคัญที่การพิจารณาคดีของนายทหารไรช์สเวร์สองนาย ร้อยตรีริชาร์ด เชรินแกร์และฮันส์ ลูดิน ในฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 1930 ทั้งสองถูกตั้งข้อหาเป็นสมาชิก NSDAP ซึ่งขณะนั้น กฎหมายไม่อนุญาตให้กำลังพลไรช์สเวร์เป็นสมาชิก{{sfn|Wheeler-Bennett|1967|p=218}} อัยการให้เหตุผลว่า NSDAP เป็นพรรคสุดโต่ง ทำให้ทนายฝ่ายจำเลย ฮันส์ ฟรังค์เรียกฮิตเลอร์มาให้การเป็นพยานในศาล{{sfn|Wheeler-Bennett|1967|p=216}} ระหว่างการให้การเมื่อวันที่ 25 กันยายน ค.ศ. 1930 ฮิตเลอร์ว่า พรรคของเขาจะแสวงหาอำนาจทางการเมืองเฉพาะผ่านการเลือกตั้งที่เป็นประชาธิปไตยเท่านั้น{{sfn|Wheeler-Bennett|1967|pp=218–219}} การให้การของฮิตเลอร์ทำให้เขาได้รับการสนับสนุนมากในหมู่นายทหารในกองทัพ{{sfn|Wheeler-Bennett|1967|p=222}}
 
[[ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่]]ในเยอรมนีใน ค.ศ.1930 เป็นโอกาสทางการเมืองแก่ฮิตเลอร์ เยอรมนีลังเลต่อสาธารณรัฐรัฐสภา ซึ่งเผชิญกับปัญหาคุกคามสำคัญจากทั้งพวกสุดโต่งฝ่ายขวาและซ้าย พรรคการเมืองสายกลางค่อยไม่สามารถหยุดยั้งกระแสแห่งลัทธิสุดโต่งมากขึ้นทุกที และการลงประชามติเยอรมนี ค.ศ.1929 ช่วยยกระดับอุดมการณ์นาซี<ref name="Kolb1988" /> การเลือกตั้งเมื่อเดือนกันยายน ค.ศ.1930 ส่งผลให้รัฐบาลผสมชุดใหญ่แตกหักและแทนที่โดยคณะรัฐมนตรีข้างน้อย ผู้นำ นายกรัฐมนตรีไฮน์ริช บือนิงแห่งพรรคกลาง ปกครองโดยกฤษฎีกาฉุกเฉินจากประธานาธิบดี พอล ฟอน ฮินเดนบูร์ก การปกครองโดยกฤษฎีกาจะกลายเป็นบรรทัดฐานใหม่และปูทางแก่รัฐบาลแบบ[[อำนาจนิยม]]{{sfn|Halperin|1965|p=403 ''et. seq''}} NSDAP เติบโตจากพรรคที่ไม่มีใครรู้จักและได้คะแนนเสียง 18.3% และ 107 ที่นั่งในรัฐสภาในการเลือกตั้ง ค.ศ. 1930 กลายมาเป็นพรรคใหญ่ที่สุดอันดับสองในสภา{{sfn|Halperin|1965|pp=434–446 ''et. seq.''}}
 
ฮิตเลอร์ปรากฏกายครั้งสำคัญที่การพิจารณาคดีของนายทหารไรช์สเวร์สองนาย ร้อยตรีริชาร์ด เชรินแกร์และฮันส์ ลูดิน ในฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ.1930 ทั้งสองถูกตั้งข้อหาเป็นสมาชิก NSDAP ซึ่งขณะนั้น กฎหมายไม่อนุญาตให้กำลังพลไรช์สเวร์เป็นสมาชิก{{sfn|Wheeler-Bennett|1967|p=218}} อัยการให้เหตุผลว่า NSDAP เป็นพรรคสุดโต่ง ทำให้ทนายฝ่ายจำเลย ฮันส์ ฟรังค์เรียกฮิตเลอร์มาให้การเป็นพยานในศาล{{sfn|Wheeler-Bennett|1967|p=216}} ระหว่างการให้การเมื่อวันที่ 25 กันยายน ค.ศ.1930 ฮิตเลอร์ว่า พรรคของเขาจะแสวงหาอำนาจทางการเมืองเฉพาะผ่านการเลือกตั้งที่เป็นประชาธิปไตยเท่านั้น{{sfn|Wheeler-Bennett|1967|pp=218–219}} การให้การของฮิตเลอร์ทำให้เขาได้รับการสนับสนุนมากในหมู่นายทหารในกองทัพ{{sfn|Wheeler-Bennett|1967|p=222}}
 
[[มาตรการรัดเข็มขัด]]ของบรือนิงทำให้เศรษฐกิจดีขึ้นเพียงเล็กน้อยและไม่ได้รับความนิยมอย่างยิ่ง{{sfn|Halperin|1965|p=449 ''et. seq.''}} ฮิตเลอร์ฉวยความอ่อนแอนี้โดยส่งข้อความทางการเมืองของเขาเจาะจงไปยังภาคส่วนของประชากรที่ได้รับผลกระทบจากภาวะเงินเฟ้อช่วงคริสต์ทศวรรษ 1920 และภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่นั้น เช่น ชาวนา ทหารผ่านศึก และชนชั้นกลาง{{sfn|Halperin|1965|pp=434–436, 471}}
 
ฮิตเลอร์ประกาศสละความสัญชาติออสเตรียของเขาอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 7 เมษายน ค.ศ. 1925 แต่ในขณะนั้นยังไม่ได้สัญชาติเยอรมัน เป็นเวลาเกือบเจ็ดปีที่ฮิตเลอร์ไร้สัญชาติ ไม่สามารถเข้าชิงตำแหน่งทางการเมืองได้ และเสี่ยงต่อการถูกเนรเทศ{{sfn|Shirer|1960|p=130}} วันที่ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1932 รัฐมนตรีมหาดไทยแห่งบรุนสวิค ผู้ซึ่งเป็นสมาชิก NSDAP แต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นผู้บริหารตัวแทนของรัฐในไรช์สรัทในเบอร์ลิน ทำให้ฮิตเลอร์เป็นพลเมืองบรุนสวิค<ref name="Hinrichs2007" /> และเป็นพลเมืองเยอรมันด้วยเช่นกัน{{sfn|Halperin|1965|p=476}}
 
ค.ศ. 1932 ฮิตเลอร์ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีแข่งกับฟอน ฮินเดนบูร์ก เขาได้รับการสนับสนุนจากนักอุตสาหกรรมที่ทรงพลังที่สุดของเยอรมนีหลังสุนทรพจน์วันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 1932 ต่อสภาอุตสาหกรรมในดึสเซลดอร์ฟ{{sfn|Halperin|1965|pp=468–471}} อย่างไรก็ดี ฮินเดนบูร์กได้รับการสนับสนุนจากพรรคชาตินิยม กษัตริย์นิยม คาทอลิกและสาธารณรัฐนิยมหลายกลุ่ม ตลอดจนพวกสังคมประชาธิปไตย ฮิตเลอร์ใช้คำขวัญระหว่างหาเสียงว่า "ฮิตเลอร์อือแบร์ดอยท์ชลันด์" (ฮิตเลอร์เหนือเยอรมนี) โดยอ้างถึงทั้งความทะเยอทะยานทางการเมืองและการหาเสียงโดยใช้เครื่องบินของเขา{{sfn|Bullock|1962|p=201}} ฮิตเลอร์มาเป็นอันดับสองในการเลือกตั้งทั้งสองรอบ โดยได้เสียงมากกว่า 35% ในการเลือกตั้งครั้งสุดท้าย แม้จะพ่ายต่อฮินเดนบูร์ก การเลือกตั้งครั้งนี้ได้ทำให้ฮิตเลอร์เป็นกำลังสำคัญในการเมืองเยอรมนี{{sfn|Halperin|1965|pp=477–479}}
 
=== การได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ===
 
การขาดรัฐบาลที่มีประสิทธิภาพทำให้นักการเมืองทรงอิทธิพลสองคน ฟรันซ์ ฟอน พาเพน และอัลเฟรด ฮูเกนแบร์ก ตลอดจนนักอุตสาหกรรมและนักธุรกิจหลายคน เขียนถึงฮินเดนบูร์ก ผู้ลงนามกระตุ้นให้ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นหัวหน้ารัฐบาล "ซึ่งเป็นอิสระจากพรรคการเมืองในรัฐสภา" ซึ่งอาจแปรเปลี่ยนเป็นขบวนการซึ่งอาจ "สร้างความยินดีแก่ประชากรหลายล้านคน"<ref>{{Citation|accessdate=22 May 2008|url=http://www.glasnost.de/hist/ns/eingabe.html|title=Eingabe der Industriellen an Hindenburg vom November 1932|publisher=Glasnost}}</ref><ref>{{Cite news|url=http://www.foxnews.com/story/0,2933,100474,00.html|title=accessed 20&nbsp;March 2010|publisher=Fox News|date=17 October 2003|accessdate=20 April 2010}}</ref>
 
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1972-026-11, Machtübernahme Hitlers.jpg|thumb|ฮิตเลอร์ที่หน้าต่างของทำเนียบรัฐบาลไรช์ ขณะได้รับการปรบมือต้อนรับจากประชาชนในเย็นวันที่เขาสาบานตนเข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี]]
 
ท้ายสุด ฮินเดนบูร์กตกลงแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีอย่างไม่เต็มใจ หลังการเลือกตั้งเป็นการทั่วไปอีกสองครั้ง ในเดือนกรกฎาคมและพฤศจิกายน ค.ศ. 1932 ซึ่งไม่ส่งผลให้เกิดการจัดตั้งรัฐบาลเสียงข้างมาก ฮิตเลอร์จะเป็นหัวหน้ารัฐบาลผสมอายุสั้นจัดตั้งโดย NSDAP และพรรคของฮูเดนแบร์ก พรรคประชาชนแห่งชาติเยอรมัน (DNVP) วันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1933 คณะรัฐมนตรีชุดใหม่สาบานตนเข้ารับตำแหน่งระหว่างพิธีการกระชับและเรียบง่ายในสำนักงานของฮินเดนบูร์ก NSDAP นั่งเก้าอี้สามจากสิบเอ็ดตำแหน่ง ฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรี แฮร์มันน์ เกอริงเป็น[[รัฐมนตรีลอย]] และวิลเฮล์ม ฟริคเป็นรัฐมนตรีมหาดไทย{{sfn|Shirer|1960|p=184}}
ท้ายสุด ฮินเดนบูร์กตกลงแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีอย่างไม่เต็มใจ หลังการเลือกตั้งเป็นการทั่วไปอีกสองครั้ง ในเดือนกรกฎาคมและพฤศจิกายน ค.ศ.1932 ซึ่งไม่ส่งผลให้เกิดการจัดตั้งรัฐบาลเสียงข้างมาก ฮิตเลอร์จะเป็นหัวหน้ารัฐบาลผสมอายุสั้นจัดตั้งโดย NSDAP และพรรคของฮูเดนแบร์ก พรรคประชาชนแห่งชาติเยอรมัน (DNVP) วันที่ 30 มกราคม ค.ศ.1933 คณะรัฐมนตรีชุดใหม่สาบานตนเข้ารับตำแหน่งระหว่างพิธีการกระชับและเรียบง่ายในสำนักงานของฮินเดนบูร์ก NSDAP นั่งเก้าอี้สามจากสิบเอ็ดตำแหน่ง ฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรี แฮร์มันน์ เกอริงเป็น[[รัฐมนตรีลอย]] และวิลเฮล์ม ฟริคเป็นรัฐมนตรีมหาดไทย{{sfn|Shirer|1960|p=184}}
 
=== เหตุการณ์เพลิงไหม้ไรช์สทัก ===
ขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ฮิตเลอร์ดำเนินการต่อต้านความพยายามของคู่แข่ง NSDAP ในการจัดตั้งรัฐบาลเสียงข้างมาก เพราะการคุมเชิงทางการเมือง ฮิตเลอร์ขอประธานาธิบดีฮินเดนบูร์กให้ยุบสภาไรช์สทักอีกครั้งหนึ่ง และกำหนดการเลือกตั้งไว้ต้นเดือนมีนาคม วันที่ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1933 อาคารไรช์สทักถูกวางเพลิง เกอริงกล่าวโทษว่าเป็นแผนการของคอมมิวนิสต์ เพราะมารีนัส ฟาน เดอร์ ลูบเบ (Marinus van der Lubbe) ถูกพบตัวในอาคารที่เพลิงกำลังลุกโหมอยู่นั้น{{sfn|Bullock|1962|p=262}} ด้วยการกระตุ้นของฮิตเลอร์ ฮินเดนบูร์กตอบสนองโดยออก[[กฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรช์สทัก]] 28 กุมภาพันธ์ ซึ่งยับยั้งสิทธิขั้นพื้นฐาน รวมทั้งหมายสั่งให้ส่งตัวผู้ถูกคุมขังมาศาล (habeas corpus) กิจกรรมของพรรคคอมมิวนิสต์เยอรมันถูกปราบปราม และสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ราว 4,000 คนถูกจับกุม{{sfn|Shirer|1960|p=194}} นักวิจัย รวมทั้งวิลเลียม แอล. ชิเรอร์ และอลัน บูลล็อก เห็นว่า NSDAP เองที่รับผิดชอบต่อการก่อไฟ{{sfn|Shirer|1960|p=192}}{{sfn|Bullock|1999|p=262}}
 
ขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ฮิตเลอร์ดำเนินการต่อต้านความพยายามของคู่แข่ง NSDAP ในการจัดตั้งรัฐบาลเสียงข้างมาก เพราะการคุมเชิงทางการเมือง ฮิตเลอร์ขอประธานาธิบดีฮินเดนบูร์กให้ยุบสภาไรช์สทักอีกครั้งหนึ่ง และกำหนดการเลือกตั้งไว้ต้นเดือนมีนาคม วันที่ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1933 อาคารไรช์สทักถูกวางเพลิง เกอริงกล่าวโทษว่าเป็นแผนการของคอมมิวนิสต์ เพราะมารีนัส ฟาน เดอร์ ลูบเบ (Marinus van der Lubbe) ถูกพบตัวในอาคารที่เพลิงกำลังลุกโหมอยู่นั้น{{sfn|Bullock|1962|p=262}} ด้วยการกระตุ้นของฮิตเลอร์ ฮินเดนบูร์กตอบสนองโดยออก[[กฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรช์สทัก]] 28 กุมภาพันธ์ ซึ่งยับยั้งสิทธิขั้นพื้นฐาน รวมทั้งหมายสั่งให้ส่งตัวผู้ถูกคุมขังมาศาล (habeas corpus) กิจกรรมของพรรคคอมมิวนิสต์เยอรมันถูกปราบปราม และสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ราว 4,000 คนถูกจับกุม{{sfn|Shirer|1960|p=194}} นักวิจัย รวมทั้งวิลเลียม แอล. ชิเรอร์ และอลัน บูลล็อก เห็นว่า NSDAP เองที่รับผิดชอบต่อการก่อไฟ{{sfn|Shirer|1960|p=192}}{{sfn|Bullock|1999|p=262}}
นอกเหนือไปจากการรณรงค์ทางการเมืองแล้ว NSDAP ยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับความรุนแรงกึ่งทหารและการขยายการโฆษณาชวนเชื่อต่อต้านคอมมิวนิสต์ในช่วงก่อนการเลือกตั้ง ในวันเลือกตั้ง 6 มีนาคม ค.ศ. 1933 ส่วนแบ่งคะแนนเสียงของ NSDAP เพิ่มขึ้นเป็น 43.9% และพรรคได้รับที่นั่งมากที่สุดในรัฐสภา อย่างไรก็ดี พรรคของฮิตเลอร์ไม่สามารถครองเสียงข้างมากอย่างสมบูรณ์ได้ จำเป็นต้องร่วมรัฐบาลกับ DNVP อีกครั้งหนึ่ง{{sfn|Bullock|1962|p=265}}
 
นอกเหนือไปจากการรณรงค์ทางการเมืองแล้ว NSDAP ยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับความรุนแรงกึ่งทหารและการขยายการโฆษณาชวนเชื่อต่อต้านคอมมิวนิสต์ในช่วงก่อนการเลือกตั้ง ในวันเลือกตั้ง 6 มีนาคม ค.ศ.1933 ส่วนแบ่งคะแนนเสียงของ NSDAP เพิ่มขึ้นเป็น 43.9% และพรรคได้รับที่นั่งมากที่สุดในรัฐสภา อย่างไรก็ดี พรรคของฮิตเลอร์ไม่สามารถครองเสียงข้างมากอย่างสมบูรณ์ได้ จำเป็นต้องร่วมรัฐบาลกับ DNVP อีกครั้งหนึ่ง{{sfn|Bullock|1962|p=265}}
 
=== วันพอตสดัมและรัฐบัญญัติมอบอำนาจ ===
 
วันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 1933 มีการตั้งไรช์สทักใหม่ขึ้นในพิธีเปิดที่โบสถ์แกริซันในพอตสดัม "วันพอตสดัม" นี้จัดขึ้นเพื่อแสดงความสามัคคีระหว่างขบวนการนาซีและชนชั้นสูงและทหารปรัสเซียเก่า ฮิตเลอร์ปรากฏกายในชุดพิธีการกลางวัน และทักทายประธานาธิบดีฟอน ฮินเดนบูร์กอย่างถ่อมตน<ref name="Potsdam1933" />{{sfn|Shirer|1960|p=196–197}}
วันที่ 21 มีนาคม ค.ศ.1933 มีการตั้งไรช์สทักใหม่ขึ้นในพิธีเปิดที่โบสถ์แกริซันในพอตสดัม "วันพอตสดัม" นี้จัดขึ้นเพื่อแสดงความสามัคคีระหว่างขบวนการนาซีและชนชั้นสูงและทหารปรัสเซียเก่า ฮิตเลอร์ปรากฏกายในชุดพิธีการกลางวัน และทักทายประธานาธิบดีฟอน ฮินเดนบูร์กอย่างถ่อมตน<ref name="Potsdam1933" />{{sfn|Shirer|1960|p=196–197}}
 
ในการบรรลุการควบคุมทางการเมืองเต็มที่โดยไม่ต้องกุมเสียงข้างมากเด็ดขาดในรัฐสภา รัฐบาลของฮิตเลอร์นำแอร์แมคทิกุงสเกเซตซ์ ([[รัฐบัญญัติมอบอำนาจ]]) ขึ้นออกเสียงในไรช์สทักที่เพิ่งเลือกตั้งเข้ามาใหม่ ฝ่ายนิติบัญญัติมอบอำนาจนิติบัญญัติเต็มให้แก่คณะรัฐมนตรีของฮิตเลอร์เป็นเวลาสี่ปีและอนุญาตให้เบี่ยงเบนจากรัฐธรรมนูญ{{sfn|Shirer|1960|p=198}} เนื่องจากร่างรัฐบัญญัติต้องการเสียงข้างมากสองในสามจึงจะผ่าน กฎหมายดังกล่าวจึงต้องการการสนับสนุนอย่างกว้างขวาง ตำแหน่งของพรรคกลาง พรรคการเมืองใหญ่ที่สุดอันดับสามในไรช์สทัก ได้ปรากฏเป็นชี้ขาด โดยแลกเปลี่ยนกับการรับประกันด้วยปากของฮิตเลอร์ว่าประธานาธิบดีฟอน ฮินเดนแบร์กจะยังคงอำนาจในการยับยั้งกฎหมาย{{sfn|Shirer|1960|p=199}} และภายใต้การนำของลุดวิก คาส พรรคกลางสนับสนุนรัฐบัญญัติมอบอำนาจ
เส้น 176 ⟶ 187:
 
=== การปลดวิสัยที่เหลือ ===
หลังมีอำนาจควบคุมเต็มที่เหนืออำนาจนิติบัญญัติและบริหาร ฮิตเลอร์และพันธมิตรทางการเมืองของเขาเริ่มการปราบปรามอย่างเป็นระบบต่อคู่แข่งการเมืองที่เหลือ หลังยุบพรรคคอมมิวนิสต์ พรรคสังคมประชาธิปไตยก็ได้ถูกห้ามและทรัพย์สินทั้งหมดถูกยึด{{sfn|Shirer|1960|p=201}} ขณะที่ตัวแทนสหภาพแรงงานจำนวนมากอยู่ในกรุงเบอร์ลินเพื่อร่วมกิจกรรมวันแรงงาน พลรบวายุของเอสเอได้ทำลายสำนักงานสหภาพแรงงานทั่วประเทศ วันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1933 สหภาพแรงงานทั้งหมดถูกบีบให้ยุบและผู้นำถูกจับกุม บางคนถูกส่งไปยัง[[ค่ายกักกัน]]{{sfn|Shirer|1960|p=202}} องค์การสหภาพใหม่ถูกจัดตั้งขึ้น โดยเป็นตัวแทนของคนงาน นายจ้างและเจ้าของบริษัททุกคนเป็นกลุ่มเดียว สหภาพแรงงานใหม่นี้สะท้อนแนวคิดชาติสังคมนิยมในวิญญาณแห่ง "โฟล์คสเกไมน์ชัฟท์" (ประชาคมสำหรับชาวเยอรมันทุกคน) ของฮิตเลอร์<ref name="Evans2003" />
 
หลังมีอำนาจควบคุมเต็มที่เหนืออำนาจนิติบัญญัติและบริหาร ฮิตเลอร์และพันธมิตรทางการเมืองของเขาเริ่มการปราบปรามอย่างเป็นระบบต่อคู่แข่งการเมืองที่เหลือ หลังยุบพรรคคอมมิวนิสต์ พรรคสังคมประชาธิปไตยก็ได้ถูกห้ามและทรัพย์สินทั้งหมดถูกยึด{{sfn|Shirer|1960|p=201}} ขณะที่ตัวแทนสหภาพแรงงานจำนวนมากอยู่ในกรุงเบอร์ลินเพื่อร่วมกิจกรรมวันแรงงาน พลรบวายุของเอสเอได้ทำลายสำนักงานสหภาพแรงงานทั่วประเทศ วันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ.1933 สหภาพแรงงานทั้งหมดถูกบีบให้ยุบและผู้นำถูกจับกุม บางคนถูกส่งไปยัง[[ค่ายกักกัน]]{{sfn|Shirer|1960|p=202}} องค์การสหภาพใหม่ถูกจัดตั้งขึ้น โดยเป็นตัวแทนของคนงาน นายจ้างและเจ้าของบริษัททุกคนเป็นกลุ่มเดียว สหภาพแรงงานใหม่นี้สะท้อนแนวคิดชาติสังคมนิยมในวิญญาณแห่ง "โฟล์คสเกไมน์ชัฟท์" (ประชาคมสำหรับชาวเยอรมันทุกคน) ของฮิตเลอร์<ref name="Evans2003" />
วันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1933 พรรคนาซีของฮิตเลอร์ได้รับประกาศว่าเป็นพรรคการเมืองถูกต้องตามกฎหมายเพียงพรรคเดียวในเยอรมนี<ref name="Evans2003" /> และด้วยความช่วยเหลือของเอสเอ ฮิตเลอร์กดดันให้ฮูเกนแบร์กลาออก{{sfn|Shirer|1960|p=201}} ข้อเรียกร้องของเอสเอให้มีอำนาจทางการเมืองและการทหารเพิ่มขึ้นสร้างความกังวลในบรรดาผู้นำทางทหาร อุตสาหกรรมและการเมือง ฮิตเลอร์สนองโดยกำจัดผู้นำเอสเอทั้งหมด ในเหตุการณ์ซึ่งรู้จักกันในชื่อ คืนแห่งมีดยาว ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างวันที่ 30 มิถุนายนถึง 2 กรกฎาคม ค.ศ. 1934{{sfn|Kershaw|2008|pp=309–314}} ฮิตเลอร์พุ่งเป้าไปยังแอร์นสท์ โรห์ม และศัตรูการเมืองอื่น (เช่น เกรกอร์ สทรัสเซอและอดีตนายกรัฐมนตรี คุร์ท ฟอน ชไลแชร์) โรห์มและผู้นำเอสเอคนอื่น เช่นเดียวกับศัตรูการเมืองของฮิตเลอร์จำนวนหนึ่ง ถูกล้อมจับ และยิงทิ้ง{{sfn|Tames|2008|pp=4–5}} ขณะที่ชาวเยอรมันบางคนตื่นตระหนกกับการฆาตกรรม หลายคนมองว่าฮิตเลอร์เป็นบุคคลผู้ฟื้นฟูความเป็นระเบียบเรียบร้อยคืนสู่ประเทศ{{sfn|Kershaw|2008|pp=313–315}}
 
วันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ.1933 พรรคนาซีของฮิตเลอร์ได้รับประกาศว่าเป็นพรรคการเมืองถูกต้องตามกฎหมายเพียงพรรคเดียวในเยอรมนี<ref name="Evans2003" /> และด้วยความช่วยเหลือของเอสเอ ฮิตเลอร์กดดันให้ฮูเกนแบร์กลาออก{{sfn|Shirer|1960|p=201}} ข้อเรียกร้องของเอสเอให้มีอำนาจทางการเมืองและการทหารเพิ่มขึ้นสร้างความกังวลในบรรดาผู้นำทางทหาร อุตสาหกรรมและการเมือง ฮิตเลอร์สนองโดยกำจัดผู้นำเอสเอทั้งหมด ในเหตุการณ์ซึ่งรู้จักกันในชื่อ คืนแห่งมีดยาว ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างวันที่ 30 มิถุนายนถึง 2 กรกฎาคม ค.ศ.1934{{sfn|Kershaw|2008|pp=309–314}} ฮิตเลอร์พุ่งเป้าไปยังแอร์นสท์ โรห์ม และศัตรูการเมืองอื่น (เช่น เกรกอร์ สทรัสเซอและอดีตนายกรัฐมนตรี คุร์ท ฟอน ชไลแชร์) โรห์มและผู้นำเอสเอคนอื่น เช่นเดียวกับศัตรูการเมืองของฮิตเลอร์จำนวนหนึ่ง ถูกล้อมจับ และยิงทิ้ง{{sfn|Tames|2008|pp=4–5}} ขณะที่ชาวเยอรมันบางคนตื่นตระหนกกับการฆาตกรรม หลายคนมองว่าฮิตเลอร์เป็นบุคคลผู้ฟื้นฟูความเป็นระเบียบเรียบร้อยคืนสู่ประเทศ{{sfn|Kershaw|2008|pp=313–315}}
วันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1934 ประธานาธิบดีฟอน ฮินเดนแบร์กถึงแก่อสัญกรรม โดยฝ่าฝืนรัฐธรรมนูญไวมาร์ ซึ่งกำหนดให้มีการเลือกตั้งประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรีของฮิตเลอร์ได้ออกกฎหมายหนึ่งวันก่อนหน้าโดยรวมตำแหน่งนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี ตำแหน่งประธานาธิบดีถูกยกเลิก และฮิตเลอร์กลายมาเป็นประมุขแห่งรัฐ มีชื่อทางการว่า ฟือแรร์อุนด์ไรช์สคันซแลร์ (ผู้นำและนายกรัฐมนตรี){{sfn|Shirer|1960|p=220}} ในฐานะประมุขแห่งรัฐ ฮิตเลอร์ขึ้นเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุด การมอบสัตย์ปฏิญาณของทหารและกะลาสีตามประเพณีถูกเปลี่ยนเป็นการยืนยันความภักดีโดยตรงต่อฮิตเลอร์มากกว่าตำแหน่งผู้บัญชาการสูงสุด{{sfn|Bullock|1962|p=309}} วันที่ 19 สิงหาคม การรวมตำแหน่งประธานาธิบดีกับนายกรัฐมนตรีได้รับการอนุมัติโดยการลงประชามติ ซึ่งได้รับเสียงสนับสนุน 84.6% ของผู้ออกมาใช้สิทธิ{{sfn|Fest|1974|p=476}}<ref name="NYTimes1932" />
 
วันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ.1934 ประธานาธิบดีฟอน ฮินเดนแบร์กถึงแก่อสัญกรรม โดยฝ่าฝืนรัฐธรรมนูญไวมาร์ ซึ่งกำหนดให้มีการเลือกตั้งประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรีของฮิตเลอร์ได้ออกกฎหมายหนึ่งวันก่อนหน้าโดยรวมตำแหน่งนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี ตำแหน่งประธานาธิบดีถูกยกเลิก และฮิตเลอร์กลายมาเป็นประมุขแห่งรัฐ มีชื่อทางการว่า ฟือแรร์อุนด์ไรช์สคันซแลร์ (ผู้นำและนายกรัฐมนตรี){{sfn|Shirer|1960|p=220}} ในฐานะประมุขแห่งรัฐ ฮิตเลอร์ขึ้นเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุด การมอบสัตย์ปฏิญาณของทหารและกะลาสีตามประเพณีถูกเปลี่ยนเป็นการยืนยันความภักดีโดยตรงต่อฮิตเลอร์มากกว่าตำแหน่งผู้บัญชาการสูงสุด{{sfn|Bullock|1962|p=309}} วันที่ 19 สิงหาคม การรวมตำแหน่งประธานาธิบดีกับนายกรัฐมนตรีได้รับการอนุมัติโดยการลงประชามติ ซึ่งได้รับเสียงสนับสนุน 84.6% ของผู้ออกมาใช้สิทธิ{{sfn|Fest|1974|p=476}}<ref name="NYTimes1932" />
ต้น ค.ศ. 1938 ฮิตเลอร์บีบให้รัฐมนตรีสงครามของเขา แวร์แนร์ ฟอน บลอมแบร์ก ลาออกจากตำแหน่ง เมื่อสำนวนตำรวจพบว่า ภรรยาใหม่ของบลอมแบร์กเคยมีประวัติเป็นโสเภณี{{sfn|Kershaw|2008|pp=392, 393}}{{sfn|Shirer|1960|p=312}} ฮิตเลอร์ถอดผู้บัญชาการทหารบก พลเอกแวร์แนร์ ฟอน ฟริทช์ หลัง[[ชุทสทัฟเฟล]] (เอสเอส) สร้างข้อกล่าวหาว่าเขาได้มีส่วนในความสัมพันธ์เพศเดียวกัน{{sfn|Kershaw|2008|pp=393–397}} กรณีดังกล่าว ซึ่งรู้จักกันว่า กรณีอื้อฉาวบลอมแบร์ก-ฟริทช์ ทำให้กองทัพอยู่ภายใต้การควบคุมโดยตรงของฮิตเลอร์ ฮิตเลอร์แทนที่กระทรวงสงครามด้วยโอแบร์คอมมันโดแดร์เวฮร์มัคท์ (กองบัญชาการทหารสูงสุด, OKW) นำโดยพลเอกวิลเฮล์ม ไคเทล จนถึงต้นเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1938 พลเอกอื่นอีกสิบสองคนถูกถอดจากตำแหน่ง{{sfn|Kershaw|2008|pp=397–398}}
 
ต้น ค.ศ.1938 ฮิตเลอร์บีบให้รัฐมนตรีสงครามของเขา แวร์แนร์ ฟอน บลอมแบร์ก ลาออกจากตำแหน่ง เมื่อสำนวนตำรวจพบว่า ภรรยาใหม่ของบลอมแบร์กเคยมีประวัติเป็นโสเภณี{{sfn|Kershaw|2008|pp=392, 393}}{{sfn|Shirer|1960|p=312}} ฮิตเลอร์ถอดผู้บัญชาการทหารบก พลเอกแวร์แนร์ ฟอน ฟริทช์ หลัง[[ชุทสทัฟเฟล]] (เอสเอส) สร้างข้อกล่าวหาว่าเขาได้มีส่วนในความสัมพันธ์เพศเดียวกัน{{sfn|Kershaw|2008|pp=393–397}} กรณีดังกล่าว ซึ่งรู้จักกันว่า กรณีอื้อฉาวบลอมแบร์ก-ฟริทช์ ทำให้กองทัพอยู่ภายใต้การควบคุมโดยตรงของฮิตเลอร์ ฮิตเลอร์แทนที่กระทรวงสงครามด้วยโอแบร์คอมมันโดแดร์เวฮร์มัคท์ (กองบัญชาการทหารสูงสุด, OKW) นำโดยพลเอกวิลเฮล์ม ไคเทล จนถึงต้นเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ.1938 พลเอกอื่นอีกสิบสองคนถูกถอดจากตำแหน่ง{{sfn|Kershaw|2008|pp=397–398}}
 
หลังได้เสริมสร้างอำนาจการเมืองของเขาแล้ว ฮิตเลอร์ปราบปรามหรือกำจัดคู่แข่งของเขาด้วยกระบวนการชื่อ ไกลค์ชัลทุง ("จัดแถว") เขาพยายามหาการสนับสนุนจากสาธารณะเพิ่มเติมโดยสัญญาจะกลับผลของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำและสนธิสัญญาแวร์ซาย
เส้น 189 ⟶ 201:
 
=== เศรษฐกิจและวัฒนธรรม ===
 
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 102-04062A, Nürnberg, Reichsparteitag, SA- und SS-Appell.jpg|thumb|left|upright|"โทเทเนรุง" (สรรเสริญผู้ตาย) บนระเบียงหน้า "เอเรนฮัลเลอ" (หอเกียรติยศ) ในฉากหลังเป็นที่ชุมนุมพรรคนาซี "เอเรนทรีบือเน" (เวทีเกียรติยศ) รูปจันทร์เสี้ยว ใน[[เนือร์นแบร์ก]] กันยายน ค.ศ. 1934]]
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 102-04062A, Nürnberg, Reichsparteitag, SA- und SS-Appell.jpg|thumb|left|upright|"โทเทเนรุง" (สรรเสริญผู้ตาย) บนระเบียงหน้า "เอเรนฮัลเลอ" (หอเกียรติยศ) ในฉากหลังเป็นที่ชุมนุมพรรคนาซี "เอเรนทรีบือเน" (เวทีเกียรติยศ) รูปจันทร์เสี้ยว ใน[[เนือร์นแบร์ก]] กันยายน ค.ศ.1934]]
ใน ค.ศ. 1935 ฮิตเลอร์แต่งตั้งฮจัลมาร์ ชัคท์ เป็นผู้มีอำนาจเต็มด้านเศรษฐกิจสงคราม ซึ่งรับผิดชอบด้านการเตรียมเศรษฐกิจเพื่อสงคราม การฟื้นฟูบูรณะและการติดอาวุธใหม่ได้รับจัดหาเงินทุนผ่านเมโฟบิล เงินที่พิมพ์ และการยึดทรัพย์สินของผู้ที่ถูกจับกุมในข้อหาปรปรักษ์ต่อรัฐ รวมทั้งยิว{{sfn|Shirer|1960|p=259–260}} การว่างงานลดลงอย่างมาก จากหกล้านคนใน ค.ศ. 1932 เหลือหนึ่งล้านคนใน ค.ศ. 1936{{sfn|Shirer|1960|p=258}} ฮิตเลอร์เป็นผู้ดูแลหนึ่งในโครงการพัฒนาสาธารณูปโภคหนึ่งในครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์เยอรมนี ซึ่งนำไปสู่การก่อสร้างเขื่อน ทางหลวง ทางรถไฟและงานสาธารณะอื่น ๆ ค่าจ้างลดลงเล็กน้อยในช่วงปีก่อนสงครามโลกครั้งที่สองเมื่อเทียบกับในสมัยไวมาร์ ขณะที่ค่าครองชีพเพิ่มขึ้น 25%{{sfn|Shirer|1960|p=262}}
 
ใน ค.ศ.1935 ฮิตเลอร์แต่งตั้งฮจัลมาร์ ชัคท์ เป็นผู้มีอำนาจเต็มด้านเศรษฐกิจสงคราม ซึ่งรับผิดชอบด้านการเตรียมเศรษฐกิจเพื่อสงคราม การฟื้นฟูบูรณะและการติดอาวุธใหม่ได้รับจัดหาเงินทุนผ่านเมโฟบิล เงินที่พิมพ์ และการยึดทรัพย์สินของผู้ที่ถูกจับกุมในข้อหาปรปํกษ์ต่อรัฐ รวมทั้งยิว{{sfn|Shirer|1960|p=259–260}} การว่างงานลดลงอย่างมาก จากหกล้านคนใน ค.ศ.1932 เหลือหนึ่งล้านคนใน ค.ศ.1936{{sfn|Shirer|1960|p=258}} ฮิตเลอร์เป็นผู้ดูแลหนึ่งในโครงการพัฒนาสาธารณูปโภคหนึ่งในครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์เยอรมนี ซึ่งนำไปสู่การก่อสร้างเขื่อน ทางหลวง ทางรถไฟและงานสาธารณะอื่น ๆ ค่าจ้างลดลงเล็กน้อยในช่วงปีก่อนสงครามโลกครั้งที่สองเมื่อเทียบกับในสมัยไวมาร์ ขณะที่ค่าครองชีพเพิ่มขึ้น 25%{{sfn|Shirer|1960|p=262}}
 
รัฐบาลฮิตเลอร์สนับสนุนสถาปัตยกรรมอย่างกว้างขวาง อัลแบร์ท สเพียร์ ผู้นำการตีความแบบคลาสสิกของฮิตเลอร์นำไปปรับกับวัฒนธรรมเยอรมัน ถูกกำหนดให้รับผิดชอบการปฏิสังขรณ์ทางสถาปัตยกรรมในเบอร์ลิน{{sfn|Speer|1971|pp=118–119}} ฮิตเลอร์เปิดกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนในเบอร์ลิน
 
=== การสร้างเสริมอาวุธและพันธมิตรใหม่ ===
ในการประชุมกับผู้นำทางทหารของเยอรมนีเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1933 ฮิตเลอร์กล่าวถึง "การพิชิตเพื่อเลอเบนสเราม์ในทางตะวันออกและทำให้เป็นเยอรมันอย่างไร้ความปรานี" เป็นวัตถุประสงค์นโยบายต่างประเทศสูงสุดของเขา{{sfn|Weinberg|1970|pp=26–27}} ในเดือนมีนาคม เจ้าชายแบร์นาร์ด วิลเฮล์ม ฟอน บือโลว์ เลขานุการเอาสวแวร์ทีเกส อัมท์ (กระทรวงการต่างประเทศ) ออกแถลงการณ์ใหญ่ถึงเป้าประสงค์ของนโยบายต่างประเทศกับเยอรมนี คือ อันชลูสส์กับออสเตรีย การฟื้นฟูพรมแดนแห่งชาติของเยอรมนีใน ค.ศ. 1914 การปฏิเสธส่วนที่ห้าของ[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]] การได้อดีตอาณานิคมเยอรมนีในแอฟริกาคืน และเขตอิทธิพลของเยอรมนีในยุโรปตะวันออก ฮิตเลอร์พบว่าเป้าหมายของบือโลว์นั้นถ่อมเกินไป{{sfn|Kershaw|1999|pp=490–491}} ในสุนทรพจน์ของเขาช่วงนี้ เขาเน้นย้ำเป้าหมายของนโยบายและความเต็มใจทำงานภายในความตกลงระหว่างประเทศอย่างสันติ{{sfn|Kershaw|1999|pp=492, 555–556, 586–587}} ในการประชุมคณะรัฐมนตรีครั้งแรกใน ค.ศ. 1933 ฮิตเลอร์จัดลำดับรายจ่ายทางทหารมาก่อนเงินช่วยเหลือผู้ว่างงาน{{sfn|Carr|1972|p=23}}
 
ในการประชุมกับผู้นำทางทหารของเยอรมนีเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1933 ฮิตเลอร์กล่าวถึง "การพิชิตเพื่อเลอเบนสเราม์ในทางตะวันออกและทำให้เป็นเยอรมันอย่างไร้ความปรานี" เป็นวัตถุประสงค์นโยบายต่างประเทศสูงสุดของเขา{{sfn|Weinberg|1970|pp=26–27}} ในเดือนมีนาคม เจ้าชายแบร์นาร์ด วิลเฮล์ม ฟอน บือโลว์ เลขานุการเอาสวแวร์ทีเกส อัมท์ (กระทรวงการต่างประเทศ) ออกแถลงการณ์ใหญ่ถึงเป้าประสงค์ของนโยบายต่างประเทศกับเยอรมนี คือ อันชลูสส์กับออสเตรีย การฟื้นฟูพรมแดนแห่งชาติของเยอรมนีใน ค.ศ.1914 การปฏิเสธส่วนที่ห้าของ[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]] การได้อดีตอาณานิคมเยอรมนีในแอฟริกาคืน และเขตอิทธิพลของเยอรมนีในยุโรปตะวันออก ฮิตเลอร์พบว่าเป้าหมายของบือโลว์นั้นถ่อมเกินไป{{sfn|Kershaw|1999|pp=490–491}} ในสุนทรพจน์ของเขาช่วงนี้ เขาเน้นย้ำเป้าหมายของนโยบายและความเต็มใจทำงานภายในความตกลงระหว่างประเทศอย่างสันติ{{sfn|Kershaw|1999|pp=492, 555–556, 586–587}} ในการประชุมคณะรัฐมนตรีครั้งแรกใน ค.ศ.1933 ฮิตเลอร์จัดลำดับรายจ่ายทางทหารมาก่อนเงินช่วยเหลือผู้ว่างงาน{{sfn|Carr|1972|p=23}}
เยอรมนีถอนตัวจาก[[สันนิบาตชาติ]]และการประชุมปลดอาวุธโลกในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1933{{sfn|Kershaw|2008|p=297}} ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1935 ฮิตเลอร์ประกาศขยายกองทัพเยอรมันเป็น 600,000 นาย หกเท่าของจำนวนที่กำหนดในส่วนที่ห้าของสนธิสัญญาแวร์ซาย รวมทั้งการพัฒนากองทัพอากาศ (ลุฟท์วัฟเฟ) และการเพิ่มขนาดกองทัพเรือ (ครีกสมารีน) อังกฤษ ฝรั่งเศส อิตาลีและสันนิบาตชาติประณามแผนการเหล่านี้ว่าเป็นการละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซาย{{sfn|Messerschmidt|1990|pp=601–602}} ความตกลงนาวิกอังกฤษ-เยอรมัน วันที่ 18 มิถุนายน ค.ศ. 1935 อนุญาตให้ระวางน้ำหนักของกองทัพเรือเยอรมันเพิ่มขึ้นเป็น 35% ของราชนาวีอังกฤษ ฮิตเลอร์เรียกการลงนามความตกลงดังกล่าวว่าเป็น "วันที่สุขที่สุดในชีวิตเขา" ดังที่เขาเชื่อว่าความตกลงนี้เป็นจุดเริ่มต้นของพันธมิตรอังกฤษ-เยอรมันที่เขาได้ทำนายไว้ในไมน์คัมพฟ์{{sfn|Hildebrand|1973|p=39}} ฝรั่งเศสและอิตาลีไม่ได้รับการปรึกษาก่อนลงนาม ซึ่งเป็นการบั่นทอนสันนิบาตชาติโดยตรง และทิ้งสนธิสัญญาแวร์ซายบนหนทางสู่ความไม่สัมพันธ์กัน<ref name="Roberts1975" />
 
เยอรมนีถอนตัวจาก[[สันนิบาตชาติ]]และการประชุมปลดอาวุธโลกในเดือนตุลาคม ค.ศ.1933{{sfn|Kershaw|2008|p=297}} ในเดือนมีนาคม ค.ศ.1935 ฮิตเลอร์ประกาศขยายกองทัพเยอรมันเป็น 600,000 นาย หกเท่าของจำนวนที่กำหนดในส่วนที่ห้าของสนธิสัญญาแวร์ซาย รวมทั้งการพัฒนากองทัพอากาศ (ลุฟท์วัฟเฟ) และการเพิ่มขนาดกองทัพเรือ (ครีกสมารีน) อังกฤษ ฝรั่งเศส อิตาลีและสันนิบาตชาติประณามแผนการเหล่านี้ว่าเป็นการละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซาย{{sfn|Messerschmidt|1990|pp=601–602}} ความตกลงนาวิกอังกฤษ-เยอรมัน วันที่ 18 มิถุนายน ค.ศ.1935 อนุญาตให้ระวางน้ำหนักของกองทัพเรือเยอรมันเพิ่มขึ้นเป็น 35% ของราชนาวีอังกฤษ ฮิตเลอร์เรียกการลงนามความตกลงดังกล่าวว่าเป็น "วันที่สุขที่สุดในชีวิตเขา" ดังที่เขาเชื่อว่าความตกลงนี้เป็นจุดเริ่มต้นของพันธมิตรอังกฤษ-เยอรมันที่เขาได้ทำนายไว้ในไมน์คัมพฟ์{{sfn|Hildebrand|1973|p=39}} ฝรั่งเศสและอิตาลีไม่ได้รับการปรึกษาก่อนลงนาม ซึ่งเป็นการบั่นทอนสันนิบาตชาติโดยตรง และทิ้งสนธิสัญญาแวร์ซายบนหนทางสู่ความไม่สัมพันธ์กัน<ref name="Roberts1975" />
เยอรมนียึดครองเขตปลอดทหารใน[[ไรน์แลนด์]]อีกครั้งในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1936 อันเป็นการละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซาย ฮิตเลอร์ส่งกำลังเข้าไปในสเปนเพื่อสนับสนุนนายพล[[ฟรังโก]]หลังได้รับการร้องขอความช่วยเหลือในเดือกรกฎาคม ค.ศ. 1936 ในขณะเดียวกัน ฮิตเลอร์พยายามสร้างพันธมิตรอังฤษ-เยอรมนีอย่างต่อเนื่อง{{sfn|Messerschmidt|1990|pp=630–631}} ในการสนองต่อวิกฤตเศรษฐกิจที่ลุกลามขึ้นอันเกิดจากความพยายามสร้างเสริมอาวุธขึ้นใหม่ ฮิตเลอร์จึงออกบันทึกข้อความสั่งแฮร์มันน์ เกอริงเพื่อดำเนินการแผนการสี่ปีเพื่อให้เยอรมนีพร้อมทำสงครามภายในสี่ปีข้างหน้า<ref name="Martel1999" /> "บันทึกข้อความแผนการสี่ปี" เดือนสิงหาคม ค.ศ. 1936 กำหนดการต่อสู้สุดกำลังที่ใกล้จะถึงระหว่าง "ยิว-บอลเชวิค" กับชาติสังคมนิยมเยอรมัน ซึ่งในมุมมองของฮิตเลอร์ จำเป็นต้องมีความพยายามเสริมสร้างอาวุธอย่างผูกพันโดยไม่คำนึงถึงมูลค่าทางเศรษฐกิจ{{sfn|Carr|1972|pp=56–57}}
 
เยอรมนียึดครองเขตปลอดทหารใน[[ไรน์แลนด์]]อีกครั้งในเดือนมีนาคม ค.ศ.1936 อันเป็นการละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซาย ฮิตเลอร์ส่งกำลังเข้าไปในสเปนเพื่อสนับสนุนนายพล[[ฟรังโก]]หลังได้รับการร้องขอความช่วยเหลือในเดือกรกฎาคม ค.ศ. 1936 ในขณะเดียวกัน ฮิตเลอร์พยายามสร้างพันธมิตรอังฤษ-เยอรมนีอย่างต่อเนื่อง{{sfn|Messerschmidt|1990|pp=630–631}} ในการสนองต่อวิกฤตเศรษฐกิจที่ลุกลามขึ้นอันเกิดจากความพยายามสร้างเสริมอาวุธขึ้นใหม่ ฮิตเลอร์จึงออกบันทึกข้อความสั่งแฮร์มันน์ เกอริงเพื่อดำเนินการแผนการสี่ปีเพื่อให้เยอรมนีพร้อมทำสงครามภายในสี่ปีข้างหน้า<ref name="Martel1999" /> "บันทึกข้อความแผนการสี่ปี" เดือนสิงหาคม ค.ศ.1936 กำหนดการต่อสู้สุดกำลังที่ใกล้จะถึงระหว่าง "ยิว-บอลเชวิค" กับชาติสังคมนิยมเยอรมัน ซึ่งในมุมมองของฮิตเลอร์ จำเป็นต้องมีความพยายามเสริมสร้างอาวุธอย่างผูกพันโดยไม่คำนึงถึงมูลค่าทางเศรษฐกิจ{{sfn|Carr|1972|pp=56–57}}
[[ไฟล์:Hitlermusso2 edit.jpg|thumb|upright|วันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1936 อิตาลีกับเยอรมนีประกาศเป็นอักษะต่อกัน]]
 
เคานต์กาเลอัซโซ ซีอาโน รัฐมนตรีต่างประเทศของรัฐบาล[[เบนิโต มุสโสลินี]] ประกาศอักษะระหว่างเยอรมนีกับอิตาลี และในวันที่ 25 พฤศจิกายน เยอรมนีลงนามใน[[สนธิสัญญาต่อต้านองค์การคอมมิวนิสต์สากล]]กับญี่ปุ่น อังกฤษ จีน อิตาลีและโปแลนด์ได้รับเชิญให้เข้าร่วมสนธิสัญญาดังกล่าวด้วย แต่มีเพียงอิตาลีเท่านั้นที่ลงนามใน ค.ศ. 1937 ฮิตเลอร์ละทิ้งความฝันพันธมิตรอังกฤษ-เยอรมนี โดยกล่างโทษว่าผู้นำอังกฤษ "ไม่เหมาะสม"{{sfn|Messerschmidt|1990|p=642}} เขาจัดการประชุมลับที่ทำเนียบรัฐบาลไรช์กับรัฐมนตรีสงครามและต่างประเทศ ตลอจนหัวหน้าทางทหารในเดือนพฤศจิกายนปีนั้น ตาม[[บันทึกข้อความฮอสซบัค]] ฮิตเลอร์แถลงเจตนาในการได้มาซึ่งเลอเบนสเราม์ ("พื้นที่อยู่อาศัย") สำหรับชาวเยอรมัน และสั่งเตรียมทำสงครามในทางตะวันออก ซึ่งจะเริ่มขึ้นไม่ช้ากว่า ค.ศ. 1943 เขาแถลงว่าบันทึกการประชุมถือว่าเป็น "พินัยกรรมการเมือง" ในกรณีเขาเสียชีวิต<ref name="Aigner1985" /> เขารู้สึกว่าวิกฤตเศรษฐกิจเยอรมันได้มาถึงจุดที่มาตรฐานการครองชีพในเยอรมนีลดลงอย่างรุนแรงสามารถหยุดยั้งได้เฉพาะนโยบายก้าวร้าวทางทหาร คือ ยึด[[ออสเตรีย]]และ[[เชโกสโลวาเกีย]]{{sfn|Messerschmidt|1990|pp=636–637}}{{sfn|Carr|1972|pp=73–78}} ฮิตเลอร์กระตุ้นการปฏิบัติอย่างรวดเร็ว ก่อนที่อังกฤษและฝรั่งเศสจะเป็นผู้นำการแข่งขันอาวุธอย่างถาวร{{sfn|Messerschmidt|1990|pp=636–637}} ในต้น ค.ศ. 1938 ตามติดกรณีอื้อฉาวบลอมแบร์ก-ฟริทช์ ฮิตเลอร์ถือสิทธิ์ควบคุมระบบนโยบายทางทหาร-ต่างประเทศ โดยปลดนอยรัธออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีต่างประเทศ เขาครองบทบาทและตำแหน่งโอแบร์สเทียร์ เบเฟลชาแบร์ แดร์ เวร์มัคท์ (ผู้บัญชาการทหารสูงสุด)<ref name="Martel1999" /> จากต้น ค.ศ. 1938 สืบมา ฮิตเลอร์ดำเนินนโยบายต่างประเทศซึ่งมีสงครามเป็นเป้าหมายสูงสุด{{sfn|Messerschmidt|1990|p=638}}
[[ไฟล์:Hitlermusso2 edit.jpg|thumb|upright|วันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ.1936 อิตาลีกับเยอรมนีประกาศเป็นอักษะต่อกัน]]
เคานต์กาเลอัซโซ ซีอาโน รัฐมนตรีต่างประเทศของรัฐบาล[[เบนิโต มุสโสลินี]] ประกาศอักษะระหว่างเยอรมนีกับอิตาลี และในวันที่ 25 พฤศจิกายน เยอรมนีลงนามใน[[สนธิสัญญาต่อต้านองค์การคอมมิวนิสต์สากล]]กับญี่ปุ่น อังกฤษ จีน อิตาลีและโปแลนด์ได้รับเชิญให้เข้าร่วมสนธิสัญญาดังกล่าวด้วย แต่มีเพียงอิตาลีเท่านั้นที่ลงนามใน ค.ศ.1937 ฮิตเลอร์ละทิ้งความฝันพันธมิตรอังกฤษ-เยอรมนี โดยกล่างโทษว่าผู้นำอังกฤษ "ไม่เหมาะสม"{{sfn|Messerschmidt|1990|p=642}} เขาจัดการประชุมลับที่ทำเนียบรัฐบาลไรช์กับรัฐมนตรีสงครามและต่างประเทศ ตลอจนหัวหน้าทางทหารในเดือนพฤศจิกายนปีนั้น ตาม[[บันทึกข้อความฮอสซบัค]] ฮิตเลอร์แถลงเจตนาในการได้มาซึ่งเลอเบนสเราม์ ("พื้นที่อยู่อาศัย") สำหรับชาวเยอรมัน และสั่งเตรียมทำสงครามในทางตะวันออก ซึ่งจะเริ่มขึ้นไม่ช้ากว่า ค.ศ.1943 เขาแถลงว่าบันทึกการประชุมถือว่าเป็น "พินัยกรรมการเมือง" ในกรณีเขาเสียชีวิต<ref name="Aigner1985" /> เขารู้สึกว่าวิกฤตเศรษฐกิจเยอรมันได้มาถึงจุดที่มาตรฐานการครองชีพในเยอรมนีลดลงอย่างรุนแรงสามารถหยุดยั้งได้เฉพาะนโยบายก้าวร้าวทางทหาร คือ ยึด[[ออสเตรีย]]และ[[เชโกสโลวาเกีย]]{{sfn|Messerschmidt|1990|pp=636–637}}{{sfn|Carr|1972|pp=73–78}} ฮิตเลอร์กระตุ้นการปฏิบัติอย่างรวดเร็ว ก่อนที่อังกฤษและฝรั่งเศสจะเป็นผู้นำการแข่งขันอาวุธอย่างถาวร{{sfn|Messerschmidt|1990|pp=636–637}} ในต้น ค.ศ.1938 ตามติดกรณีอื้อฉาวบลอมแบร์ก-ฟริทช์ ฮิตเลอร์ถือสิทธิ์ควบคุมระบบนโยบายทางทหาร-ต่างประเทศ โดยปลดนอยรัธออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีต่างประเทศ เขาครองบทบาทและตำแหน่งโอแบร์สเทียร์ เบเฟลชาแบร์ แดร์ เวร์มัคท์ (ผู้บัญชาการทหารสูงสุด)<ref name="Martel1999" /> จากต้น ค.ศ.1938 สืบมา ฮิตเลอร์ดำเนินนโยบายต่างประเทศซึ่งมีสงครามเป็นเป้าหมายสูงสุด{{sfn|Messerschmidt|1990|p=638}}
 
=== การล้างชาติ ===
 
{{บทความหลัก|การล้างชาติโดยนาซี}}
หนึ่งในอุดมการณ์กลางและเป็นที่โต้เถียงกันมากที่สุดของฮิตเลอร์ คือ แนวคิดซึ่งเขาและผู้ติดตามเรียกว่า ความสะอาดเชื้อชาติ วันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1935 เขาเสนอกฎหมายสองฉบับ ซึ่งรู้จักกันในชื่อกฎหมายเนือร์นแบร์ก แก่ไรช์สทัก กฎหมายนี้ห้ามการสมรสระหว่างผู้ที่มิใช่ยิวกับเยอรมันเชื้อสายยิว และห้ามการจ้างสตรีมิใช่ยิวอายุต่ำกว่า 45 ปีในครัวเรือนยิว กฎหมายกีดกันผู้ที่ "มิใช่อารยัน" จากประโยชน์ของพลเมืองเยอรมัน{{sfn|Kershaw|1999|pp=567–568}} นโยบายสุพันธุศาสตร์ช่วงต้นของฮิตเลอร์มุ่งไปยังเด็กที่บกพร่องทางกายและการพัฒนาในโครงการซึ่งได้ฉายาว่า การปฏิบัติตี4{{sfn|Overy|2005|p=252}}
 
แนวคิดเลอเบนสเราม์ของฮิตเลอร์ ซึ่งรับหลักการในไมน์คัมพฟ์ มุ่งการได้มาซึ่งดินแดนใหม่สำหรับการตั้งถิ่นฐานของชาวเยอรมันในยุโรปตะวันออก<ref name="Gellately1996" /> เจเนรัลพลันโอสท์ ("แผนการทั่วไปสำหรับทางตะวันออก") กำหนดให้ประชากรในยุโรปตะวันออกและสหภาพโซเวียตส่วนที่ถูกยึดครองเนรเทศไปยังไซบีเรียตะวันตก เพื่อใช้เป็นแรงงานทาสหรือสังหารทิ้ง ดินแดนที่ถูกพิชิตจะถูกตั้งเป็นอาณานิคมของผู้ตั้งถิ่นฐานชาวเยอรมันหรือที่ถูก "ทำให้เป็นเยอรมัน"<ref name="Steinberg1995" /> แผนการเดิมกำหนดให้กระบวนการนี้เริ่มต้นหลังการพิชิตสหภาพโซเวียต แต่เมื่อไม่เป็นผล ฮิตเลอร์จึงเลื่อนแผนการออกไป{{sfn|Snyder|2010|p=416}}{{sfn|Kershaw|2008|p=683}} จนถึงเดือนมกราคม ค.ศ. 1942 การตัดสินใจนี้ได้นำไปยังการสังหารชาวยิวและผู้ถูกเนรเทศอื่นซึ่งถูกพิจารณาว่าไม่พึงปรารถนา{{sfn|Shirer|1960|p=965}}
 
[[การล้างชาติโดยนาซี]] ({{lang-en|Holocuast}}, {{lang-de|Endlösung der jüdischen Frage}} หรือ "[[การแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย]]") จัดขึ้นและดำเนินการโดยไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์และไรนาร์ด ไฮดริช บันทึกการประชุมวันน์เซ ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1942 และนำโดยไรนาร์ด ไฮดริช ร่วมกับเจ้าหน้าที่นาซีอาวุโสอื่นอีกสิบห้าคน (รวมทั้งอดอล์ฟ อีคมันน์) เป็นหลักฐานชัดเจนที่สุดถึงการวางแผนการล้างชาติโดยนาซีอย่างเป็นระบบ วันที่ 22 กุมภาพันธ์ มีบันทึกคำกล่าวของฮิตเลอร์ต่อเพื่อนร่วมงานว่า "เราจะได้สุขภาพคืนเฉพาะโดยการสังหารยิวเท่านั้น"<ref name="Naimark2002" /> มีค่ายกักกันและ[[ค่ายมรณะ]]นาซีประมาณสามสิบแห่งใช้เพื่อวัตถุประสงค์นี้{{sfn|Shirer|1960|p=967}} จนถึงฤดูร้อน ค.ศ. 1942 สถานที่ตั้งค่ายกักกันเอาชวิทซ์ถูกดัดแปลงให้สามารถรองรับผู้ถูกเนรเทศจำนวนมากเพื่อสังหารหรือใช้แรงงานทาส{{sfn|Kershaw|2008|p=687}}
 
[[ไฟล์:Buchenwald Corpses 60623.jpg|thumb|left|ทหารอเมริกันยืนอยู่ข้างรถเข็นซึ่งมีศพกองเป็นภูเขานอกเมรุใน[[ค่ายกักกันบูเชนวัลด์]]ที่เพิ่งได้รับการปลดปล่อย เมษายน ค.ศ. 1945]]
แม้ไม่ปรากฏว่ามีคำสั่งเจาะจงจากฮิตเลอร์ที่อนุมัติการสังหารหมู่{{sfn|Megargee|2007|p=146}} เขาได้อนุมัติไอน์ซัทซกรุพเพน หน่วยสังหารซึ่งติดตามกองทัพเยอรมันผ่านโปแลนด์และรัสเซีย เขายังได้รับรายงานอย่างดีเกี่ยวกับพฤติกรรมของหน่วยนี้ด้วย{{sfn|Megargee|2007|p=144}} ระหว่างการสอบสวนโดยเจ้าหน้าที่สืบราชการลับโซเวียต บันทึกซึ่งได้รับการเปิดเผยในอีกกว่าห้าสิบปีให้หลัง คนขับรถของฮิตเลอร์ ไฮนซ์ ลินเกอ และผู้ช่วยของเขา ออทโท กึนเชอ แถลงว่าฮิตเลอร์มีความสนใจโดยตรงในการพัฒนาห้องรมแก๊ส<ref name="YadVashemRemembrance" />
 
ระหว่าง ค.ศ. 1939 ถึง 1945 เอสเอส ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลผู้ให้ความร่วมมือและทหารเกณฑ์จากประเทศที่ถูกยึดครอง รับผิดชอบต่อการเสียชีวิตถึงสิบเอ็ดถึงสิบสี่ล้านชีวิต รวมทั้งชาวยิวหกล้านคน คิดเป็นสองในสามของประชากรยิวในทวีปยุโรป<ref name="YadVashem" /><ref name="HolocaustMemorialMuseum" /> และชาวโรมาระหว่าง 500,000 ถึง 1,500,000 คน<ref name="Hancock2004" /> การเสียชีวิตเกิดขึ้นในค่ายกักกันและค่ายมรณะ ย่านชาวยิว และการประหารชีวิตหมู่ เหยื่อการล้างชาติหลายคนถูกรมแก๊สจนเสียชีวิต ขณะที่บ้างเสียชีวิตเพราะหิวโหยหรือป่วยขณะใช้แรงงานทาส{{sfn|Shirer|1960|p=946}}
 
นโยบายของฮิตเลอร์ยังส่งผลให้มีการสังหารชาวโปแลนด์<ref name="USHolocaustMemorial" />และเชลยศึกโซเวียต พวกคอมมิวนิสต์และศัตรูการเมืองอื่น พวกรักร่วมเพศ ผู้พิการทางกายหรือจิต<ref name="Niewyk2000" /><ref name="Goldhagen1996" /> ผู้นับถือลัทธิพยานพระยะโฮวาห์ นิกายแอดเวนติสต์ และผู้นำสหภาพแรงงาน ฮิตเลอร์ไม่เคยปรากฏว่าเยือนค่ายกักกันและมิได้พูดถึงการสังหารอย่างเปิดเผย<ref name="Downing2005" />
เส้น 224 ⟶ 240:
=== ความสำเร็จทางการทูตช่วงต้น ===
 
[[ไฟล์:Matsuoka visits Hitler.jpg|thumb|ฮิตเลอร์กับรัฐมนตรีต่างประเทศญี่ปุ่น โยสึเกะ มัตซุโอกะ ที่การประชุมในกรุงเบอร์ลินเมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 1941 ที่ยืนอยู่ข้างหลังนั้นคือ โจอาคม ฟอน ริบเบนทรอพ]]
 
==== พันธมิตรกับญี่ปุ่น ====
 
ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1938 ด้วยการแนะนำจากรัฐมนตรีต่างประเทศที่เพิ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ โจอาคิม ฟอน ริบเบนทรอพ ผู้นิยมญี่ปุ่นอย่างแข็งขัน ฮิตเลอร์จึงยุติพันธมิตรจีน-เยอรมันกับสาธารณรัฐจีนและเข้าเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นที่ทันสมัยและทรงอำนาจกว่า ฮิตเลอร์ประกาศรับรอง[[แมนจูกัว]] ซึ่งเป็นรัฐที่ญี่ปุ่นยึดครองใน[[แมนจูเรีย]] และสละการอ้างสิทธิ์ของเยอรมนีเหนืออดีตอาณานิคมในแปซิฟิกที่ญี่ปุ่นถือครองอยู่ ฮิตเลอร์สั่งยุติการส่งอาวุธไปยังจีน และเรียกนายทหารเยอรมันที่ทำงานกับกองทัพจีนทั้งหมดกลับ{{sfn|Bloch|1992|pp=178–179}} เพื่อเป็นการตอบโต้ พลเอก[[เจียง ไคเช็ก]]ของจีนยกเลิกความตกลงเศรษฐกิจจีน-เยอรมนีทั้งหมด ทำให้เยอรมนีขาดวัตถุดิบจากจีน แม้จีนจะยังขนส่ง[[ทังสเตน]]ซึ่งเป็นโลหะสำคัญในการผลิตอาวุธ ต่อไปจนกระทั่ง ค.ศ. 1939<ref name="Plating2011" />
ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ.1938 ด้วยการแนะนำจากรัฐมนตรีต่างประเทศที่เพิ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ โจอาคิม ฟอน ริบเบนทรอพ ผู้นิยมญี่ปุ่นอย่างแข็งขัน ฮิตเลอร์จึงยุติพันธมิตรจีน-เยอรมันกับสาธารณรัฐจีนและเข้าเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นที่ทันสมัยและทรงอำนาจกว่า ฮิตเลอร์ประกาศรับรอง[[แมนจูกัว]] ซึ่งเป็นรัฐที่ญี่ปุ่นยึดครองใน[[แมนจูเรีย]] และสละการอ้างสิทธิ์ของเยอรมนีเหนืออดีตอาณานิคมในแปซิฟิกที่ญี่ปุ่นถือครองอยู่ ฮิตเลอร์สั่งยุติการส่งอาวุธไปยังจีน และเรียกนายทหารเยอรมันที่ทำงานกับกองทัพจีนทั้งหมดกลับ{{sfn|Bloch|1992|pp=178–179}} เพื่อเป็นการตอบโต้ พลเอก[[เจียง ไคเช็ก]]ของจีนยกเลิกความตกลงเศรษฐกิจจีน-เยอรมนีทั้งหมด ทำให้เยอรมนีขาดวัตถุดิบจากจีน แม้จีนจะยังขนส่ง[[ทังสเตน]]ซึ่งเป็นโลหะสำคัญในการผลิตอาวุธ ต่อไปจนกระทั่ง ค.ศ.1939<ref name="Plating2011" />
 
==== ออสเตรียและเชโกสโลวาเกีย ====
 
วันที่ 12 มีนาคม ค.ศ. 1938 ฮิตเลอร์ประกาศรวม[[ออสเตรีย]]เข้ากับนาซีเยอรมนีใน[[อันชลุสส์]]{{sfn|Butler|Young|1989|p=159}}{{sfn|Bullock|1962|p=434}} จากนั้นฮิตเลอร์มุ่งความสนใจของเขาไปยังประชากรเชื้อชาติเยอรมันในเขต[[ซูเดเตนแลนด์]]ของ[[เชโกสโลวาเกีย]]{{sfn|Overy|2005|p=425}}
 
วันที่ 28-29 มีนาคม ค.ศ. 1938 ฮิตเลอร์จัดการประชุมลับขึ้นหลายครั้งในกรุงเบอร์ลินกับคอนรัด เฮนไลน์ แห่งซูเดเตนไฮม์ฟรอนท์ (Heimfront, "แนวสนับสนุน") พรรคการเมืองเชื้อชาติเยอรมันใหญ่ที่สุดในซูเดเตนแลนด์ ทั้งสองตกลงว่าเฮนไลน์จะเรียกร้องสิทธิปกครองตนเองสำหรับชาวเยอรมันซูเดเตนเพิ่มขึ้นจากรัฐบาลเชโกสโลวาเกีย และเป็นข้ออ้างสำหรับการปฏิบัติทางทหารต่อเชโกสโลวาเกีย ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1938 เฮนไลน์บอกรัฐมนตรีต่างประเทศฮังการีว่า "ไม่ว่ารัฐบาลเช็กจะเสนออะไร เขาจะเรียกร้องสูงขึ้นเสมอ ... เขาต้องการบ่อนทำลายความเข้าใจในทุกวิถีทาง เพราะนี่เป็นเพียงวิธีเดียวที่จะระเบิดเชโกสโลวาเกียอย่างรวดเร็ว"{{sfn|Weinberg|1980|pp=334–335}} โดยส่วนตัว ฮิตเลอร์มองว่าปัญหาซูเดเตนไม่สำคัญ เจตนาที่แท้จริงของเขานั้นคือสงครามพิชิตเชโกสโลวาเกีย{{sfn|Weinberg|1980|pp=338–340}}
 
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 137-004055, Eger, Besuch Adolf Hitlers.jpg|thumb|left|upright|เดือนตุลาคม ค.ศ. 1938 ฮิตเลอร์ (ยืนอยู่ในเมอร์ซิเดส) ขับผ่านฝูงชนในเชบ ส่วนหนึ่งของภูมิภาคซูเดเตนที่มีประชากรชาวเยอรมันอาศัยอยู่มากของ[[เชโกสโลวาเกีย]] ซึ่งถูกผนวกเข้ากับนาซีเยอรมนีจากความตกลงมิวนิก]]
ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1938 ฮิตเลอร์สั่งให้ OKW เตรียมการสำหรับฟัลกรึน (Fall Grün, "กรณีเขียว") ชื่อรหัสสำหรับการรุกรานเชโกสโลวาเกีย{{sfn|Weinberg|1980|p=366}} ด้วยผลของแรงกดดันทางการทูตอย่างหนักจากฝรั่งเศสและอังกฤษ วันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1938 ประธานาธิบดีเชโกสโลวาเกีย เอ็ดวาร์ด เบเนช จึงประกาศ "แผนการที่สี่" เพื่อจัดระเบียบประเทศใหม่ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งตกลงรับข้อเรียกร้องส่วนใหญ่ของเฮนไลน์ว่าด้วยการปกครองตนเองของซูเดเตน{{sfn|Weinberg|1980|pp=418–419}} ไฮม์ฟรอนท์ของเฮนไลน์สนองต่อข้อเสนอของเบเนชด้วยการปะทะอย่างรุนแรงหลายครั้งกับตำรวจเชโกสโลวาเกีย ซึ่งนำไปสู่การประกาศ[[กฎอัยการศึก]]ในบางเขตของซูเดเตน{{sfn|Kee|1988|pp=149–150}}{{sfn|Weinberg|1980|p=419}}
 
ในเดือนเมษายน ค.ศ.1938 ฮิตเลอร์สั่งให้ OKW เตรียมการสำหรับฟัลกรึน (Fall Grün, "กรณีเขียว") ชื่อรหัสสำหรับการรุกรานเชโกสโลวาเกีย{{sfn|Weinberg|1980|p=366}} ด้วยผลของแรงกดดันทางการทูตอย่างหนักจากฝรั่งเศสและอังกฤษ วันที่ 5 กันยายน ค.ศ.1938 ประธานาธิบดีเชโกสโลวาเกีย เอ็ดวาร์ด เบเนช จึงประกาศ "แผนการที่สี่" เพื่อจัดระเบียบประเทศใหม่ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งตกลงรับข้อเรียกร้องส่วนใหญ่ของเฮนไลน์ว่าด้วยการปกครองตนเองของซูเดเตน{{sfn|Weinberg|1980|pp=418–419}} ไฮม์ฟรอนท์ของเฮนไลน์สนองต่อข้อเสนอของเบเนชด้วยการปะทะอย่างรุนแรงหลายครั้งกับตำรวจเชโกสโลวาเกีย ซึ่งนำไปสู่การประกาศ[[กฎอัยการศึก]]ในบางเขตของซูเดเตน{{sfn|Kee|1988|pp=149–150}}{{sfn|Weinberg|1980|p=419}}
เยอรมนีนั้นพึ่งพาน้ำมันนำเข้า การเผชิญหน้ากับอังกฤษเหนือกรณีพิพาทเชโกสโลวาเกียอาจตัดทอนเสบียงน้ำมันของเยอรมนีได้ ฮิตเลอร์จึงเลื่อนฟัลกรึนออกไป ซึ่งเดิมวางแผนไว้เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1938{{sfn|Murray|1984|pp=256–260}} วันที่ 29 กันยายน ค.ศ. 1938 ฮิตเลอร์, [[เนวิลล์ เชมเบอร์เลน]], [[เอดูอาร์ ดาลาดีเย]] และ[[เบนิโต มุสโสลินี]]เข้าร่วมการประชุมหนึ่งวันในกรุงมิวนิกซึ่งนำไปสู่[[ความตกลงมิวนิก]] ซึ่งได้มอบเขตซูเดเตนแลนด์ให้แก่เยอรมนี{{sfn|Bullock|1962|p=469}}<ref name="Overy1999" />
 
เยอรมนีนั้นพึ่งพาน้ำมันนำเข้า การเผชิญหน้ากับอังกฤษเหนือกรณีพิพาทเชโกสโลวาเกียอาจตัดทอนเสบียงน้ำมันของเยอรมนีได้ ฮิตเลอร์จึงเลื่อนฟัลกรึนออกไป ซึ่งเดิมวางแผนไว้เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ.1938{{sfn|Murray|1984|pp=256–260}} วันที่ 29 กันยายน ค.ศ. 1938 ฮิตเลอร์, [[เนวิลล์ เชมเบอร์เลน]], [[เอดูอาร์ ดาลาดีเย]] และ[[เบนิโต มุสโสลินี]]เข้าร่วมการประชุมหนึ่งวันในกรุงมิวนิกซึ่งนำไปสู่[[ความตกลงมิวนิก]] ซึ่งได้มอบเขตซูเดเตนแลนด์ให้แก่เยอรมนี{{sfn|Bullock|1962|p=469}}<ref name="Overy1999" />
เชมเบอร์เลนพอใจกับการประชุมมิวนิก โดยเรียกผลว่า "สันติภาพในสมัยของเรา" ขณะที่ฮิตเลอร์โกรธกับโอกาสทำสงครามที่พลาดไปใน ค.ศ. 1938{{sfn|Kee|1988|pp=202–203}}{{sfn|Weinberg|1980|pp=462–463}} ฮิตเลอร์แสดงความผิดหวังของเขาต่อความตกลงมิวนิกออกมาในสุนทรพจน์เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 1938 ในซาร์บรึกเคน{{sfn|Messerschmidt|1990|p=672}} ในมุมมองของฮิตเลอร์ สันติภาพซึ่งอังกฤษเป็นนายหน้านั้น แม้จะอำนวยประโยชน์ต่อการเรียกร้องบังหน้าของเยอรมนี แต่ก็เป็นความพ่ายแพ้ทางการทูตซึ่งยิ่งกระตุ้นเจตนาของฮิตเลอร์ในการจำกัดอำนาจของอังกฤษเพื่อกรุยทางแก่การขยายตัวไปทางตะวันออกของเยอรมนี{{sfn|Messerschmidt|1990|pp=671, 682–683}}<ref name="Rothwell2001" /> ผลจากการประชุมนี้ ฮิตเลอร์ได้รับเลือกเป็น[[บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์]] ค.ศ. 1938<ref name="Time1939-2" />
 
เชมเบอร์เลนพอใจกับการประชุมมิวนิก โดยเรียกผลว่า "สันติภาพในสมัยของเรา" ขณะที่ฮิตเลอร์โกรธกับโอกาสทำสงครามที่พลาดไปใน ค.ศ. 1938{{sfn|Kee|1988|pp=202–203}}{{sfn|Weinberg|1980|pp=462–463}} ฮิตเลอร์แสดงความผิดหวังของเขาต่อความตกลงมิวนิกออกมาในสุนทรพจน์เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 1938 ในซาร์บรึกเคน{{sfn|Messerschmidt|1990|p=672}} ในมุมมองของฮิตเลอร์ สันติภาพซึ่งอังกฤษเป็นนายหน้านั้น แม้จะอำนวยประโยชน์ต่อการเรียกร้องบังหน้าของเยอรมนี แต่ก็เป็นความพ่ายแพ้ทางการทูตซึ่งยิ่งกระตุ้นเจตนาของฮิตเลอร์ในการจำกัดอำนาจของอังกฤษเพื่อกรุยทางแก่การขยายตัวไปทางตะวันออกของเยอรมนี{{sfn|Messerschmidt|1990|pp=671, 682–683}}<ref name="Rothwell2001" /> ผลจากการประชุมนี้ ฮิตเลอร์ได้รับเลือกเป็น[[บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์]] ค.ศ.1938<ref name="Time1939-2" />
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 183-2004-1202-505, Prag, Burg, Besuch Adolf Hitler.jpg|thumb|ฮิตเลอร์เยือนปราสาทปราก ไม่นานหลังเชโกสโลวาเกียถูกยึดครอง 15 มีนาคม ค.ศ. 1939]]
ในปลาย ค.ศ. 1938 และต้น ค.ศ. 1939 วิกฤตการณ์เศรษฐกิจที่ดำเนินต่อไปซึ่งเกิดขึ้นจากความพยายามสร้างเสริมอาวุธใหม่บีบให้ฮิตเลอร์ตัดงบประมาณป้องกันประเทศลงอย่างมาก{{sfn|Murray|1984|p=268}} วันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1939 ฮิตเลอร์กล่าวสุนทรพจน์ "ส่งออกหรือตาย" โดยเรียกร้องการรุกทางเศรษฐกิจของเยอรมนีเพื่อเพิ่มสินทรัพย์แลกเปลี่ยนต่างประเทศเยอรมนีเพื่อจ่ายเป็นค่าวัตถุดิบ เช่น เหล็กคุณภาพสูงซึ่งจำเป็นต่ออาวุธทางทหาร{{sfn|Murray|1984|p=268}}
 
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 183-2004-1202-505, Prag, Burg, Besuch Adolf Hitler.jpg|thumb|ฮิตเลอร์เยือนปราสาทปราก ไม่นานหลังเชโกสโลวาเกียถูกยึดครอง 15 มีนาคม ค.ศ.1939]]
วันที่ 15 มีนาคม ค.ศ. 1939 โดยเป็นการละเมิดข้อตกลงมิวนิกและอาจเป็นเพราะผลของวิกฤตการณ์เศรษฐกิจที่ถลำลึกซึ่งต้องการสินทรัพย์เพิ่มเติม ฮิตเลอร์จึงสั่งให้เวร์มัคท์รุกราน[[ปราก]] และจากปราสาทปรากได้ประกาศให้[[โบฮีเมียและโมราเวีย]]เป็น[[รัฐในอารักขา]]ของเยอรมนี{{sfn|Shirer|1960|p=448}}
ในปลาย ค.ศ.1938 และต้น ค.ศ.1939 วิกฤตการณ์เศรษฐกิจที่ดำเนินต่อไปซึ่งเกิดขึ้นจากความพยายามสร้างเสริมอาวุธใหม่บีบให้ฮิตเลอร์ตัดงบประมาณป้องกันประเทศลงอย่างมาก{{sfn|Murray|1984|p=268}} วันที่ 30 มกราคม ค.ศ.1939 ฮิตเลอร์กล่าวสุนทรพจน์ "ส่งออกหรือตาย" โดยเรียกร้องการรุกทางเศรษฐกิจของเยอรมนีเพื่อเพิ่มสินทรัพย์แลกเปลี่ยนต่างประเทศเยอรมนีเพื่อจ่ายเป็นค่าวัตถุดิบ เช่น เหล็กคุณภาพสูงซึ่งจำเป็นต่ออาวุธทางทหาร{{sfn|Murray|1984|p=268}}
 
วันที่ 15 มีนาคม ค.ศ.1939 โดยเป็นการละเมิดข้อตกลงมิวนิกและอาจเป็นเพราะผลของวิกฤตการณ์เศรษฐกิจที่ถลำลึกซึ่งต้องการสินทรัพย์เพิ่มเติม ฮิตเลอร์จึงสั่งให้เวร์มัคท์รุกราน[[ปราก]] และจากปราสาทปรากได้ประกาศให้[[โบฮีเมียและโมราเวีย]]เป็น[[รัฐในอารักขา]]ของเยอรมนี{{sfn|Shirer|1960|p=448}}
 
=== สงครามโลกครั้งที่สองปะทุ ===
ในการประชุมส่วนตัวใน ค.ศ. 1939 ฮิตเลอร์อธิบายว่าอังกฤษเป็นศัตรูหลักที่จำต้องถูกพิชิต ในมุมมองของเขา การลบล้างโปแลนด์จากการเป็นชาติมีอธิปไตยเป็นการโหมโรงที่จำเป็นสู่เป้าหมายนั้น ปีกตะวันออกจำต้องได้รับการทำให้ปลอดภัย และที่ดินจะถูกเพิ่มเข้าไปในเลเบนสเราม์ของเยอรมนี{{sfn|Weinberg|1980|pp=579–581}} ฮิตเลอร์ต้องการให้เยอรมนีเป็นรัฐบริวารของเยอรมนีหรือมิฉะนั้นก็ถูกทำให้เป็นกลางเพื่อให้ปีกทางตะวันออกของไรช์ปลอดภัย และเพื่อป้องกันการปิดล้อมของอังกฤษที่เป็นไปได้{{sfn|Messerschmidt|1990|pp=688–690}} แต่เดิม ฮิตเลอร์ชอบแนวคิดรัฐบริวาร ซึ่งถูกปฏิเสธโดยรัฐบาลโปแลนด์ ดังนั้น ฮิตเลอร์จึงตัดสินใจรุกรานโปแลนด์ ซึ่งเขาถือว่าเป็นเป้าหมายนโยบายต่างประเทศหลักของเยอรมนีใน ค.ศ. 1939{{sfn|Weinberg|1980|pp=537–539, 557–560}} ฮิตเลอร์ถูกขัดใจโดย "การรับประกัน" เอกราชของโปแลนด์โดยอังกฤษซึ่งประกาศเมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1939 และบอกแก่เพื่อนร่วมงานเขาว่า "ฉันจะบ่มเครื่องดื่มปิศาจแก่พวกเขา"<ref name="Maiolo1998" /> ในสุนทรพจน์ในวิลเฮล์มชาเวนเพื่อปล่อยเรือพิฆาตทีร์พิทซ์ลงน้ำเมื่อวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 1939 ฮิตเลอร์ขู่จะบอกเลิกความตกลงนาวิกอังกฤษ-เยอรมันเป็นครั้งแรก หากอังกฤษยืนกรานการรับประกันเอกราชของโปแลนด์ ซึ่งเขามองว่าเป็นนโยบาย "ตีวงล้อม"<ref name="Maiolo1998" /> วันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1939 ฮิตเลอร์สั่งการให้ฝ่ายทหารเตรียมการสำหรับฟัลไวสส์ (Fall Weiss, "กรณีขาว") แผนการสำหรับการรุกรานของเยอรมนีในวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 1939{{sfn|Weinberg|1980|pp=537–539, 557–560}} ในสุนทรพจน์ต่อไรช์สทักเมื่อวันที่ 28 เมษายน ฮิตเลอร์บอกเลิกทั้งความตกลงนาวิกอังกฤษ-เยอรมันและสนธิสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนี-โปแลนด์ ฮิตเลอร์กล่าวแก่นายพลของเขาว่าแผนการดั้งเดิมของเขาใน ค.ศ. 1939 คือ "... จัดตั้งความสัมพันธ์ที่ยอมรับได้กับโปแลนด์เพื่อต่อสู้กับตะวันตก" เนื่องจากโปแลนด์ปฏิเสธจะเป็นบริวารของเยอรมนี ฮิตเลอร์จึงเชื่อว่าทางเลือกเดียวของเขาคือการรุกรานโปแลนด์{{sfn|Weinberg|1980|p=558}}
 
ในการประชุมส่วนตัวใน ค.ศ.1939 ฮิตเลอร์อธิบายว่าอังกฤษเป็นศัตรูหลักที่จำต้องถูกพิชิต ในมุมมองของเขา การลบล้างโปแลนด์จากการเป็นชาติมีอธิปไตยเป็นการโหมโรงที่จำเป็นสู่เป้าหมายนั้น ปีกตะวันออกจำต้องได้รับการทำให้ปลอดภัย และที่ดินจะถูกเพิ่มเข้าไปในเลเบนสเราม์ของเยอรมนี{{sfn|Weinberg|1980|pp=579–581}} ฮิตเลอร์ต้องการให้เยอรมนีเป็นรัฐบริวารของเยอรมนีหรือมิฉะนั้นก็ถูกทำให้เป็นกลางเพื่อให้ปีกทางตะวันออกของไรช์ปลอดภัย และเพื่อป้องกันการปิดล้อมของอังกฤษที่เป็นไปได้{{sfn|Messerschmidt|1990|pp=688–690}} แต่เดิม ฮิตเลอร์ชอบแนวคิดรัฐบริวาร ซึ่งถูกปฏิเสธโดยรัฐบาลโปแลนด์ ดังนั้น ฮิตเลอร์จึงตัดสินใจรุกรานโปแลนด์ ซึ่งเขาถือว่าเป็นเป้าหมายนโยบายต่างประเทศหลักของเยอรมนีใน ค.ศ.1939{{sfn|Weinberg|1980|pp=537–539, 557–560}} ฮิตเลอร์ถูกขัดใจโดย "การรับประกัน" เอกราชของโปแลนด์โดยอังกฤษซึ่งประกาศเมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ.1939 และบอกแก่เพื่อนร่วมงานเขาว่า "ฉันจะบ่มเครื่องดื่มปิศาจแก่พวกเขา"<ref name="Maiolo1998" /> ในสุนทรพจน์ในวิลเฮล์มชาเวนเพื่อปล่อยเรือพิฆาตทีร์พิทซ์ลงน้ำเมื่อวันที่ 1 เมษายน ค.ศ.1939 ฮิตเลอร์ขู่จะบอกเลิกความตกลงนาวิกอังกฤษ-เยอรมันเป็นครั้งแรก หากอังกฤษยืนกรานการรับประกันเอกราชของโปแลนด์ ซึ่งเขามองว่าเป็นนโยบาย "ตีวงล้อม"<ref name="Maiolo1998" /> วันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1939 ฮิตเลอร์สั่งการให้ฝ่ายทหารเตรียมการสำหรับฟัลไวสส์ (Fall Weiss, "กรณีขาว") แผนการสำหรับการรุกรานของเยอรมนีในวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ.1939{{sfn|Weinberg|1980|pp=537–539, 557–560}} ในสุนทรพจน์ต่อไรช์สทักเมื่อวันที่ 28 เมษายน ฮิตเลอร์บอกเลิกทั้งความตกลงนาวิกอังกฤษ-เยอรมันและสนธิสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนี-โปแลนด์ ฮิตเลอร์กล่าวแก่นายพลของเขาว่าแผนการดั้งเดิมของเขาใน ค.ศ.1939 คือ "... จัดตั้งความสัมพันธ์ที่ยอมรับได้กับโปแลนด์เพื่อต่อสู้กับตะวันตก" เนื่องจากโปแลนด์ปฏิเสธจะเป็นบริวารของเยอรมนี ฮิตเลอร์จึงเชื่อว่าทางเลือกเดียวของเขาคือการรุกรานโปแลนด์{{sfn|Weinberg|1980|p=558}}
ฮิตเลอร์เดิมกังวลว่าการโจมตีทางทหารต่อโปแลนด์อาจส่งผลให้เกิดสงครามกับอังกฤษก่อนเวลาอันควร{{sfn|Messerschmidt|1990|pp=688–690}}<ref name="Robertson1985" /> อย่างไรก็ดี รัฐมนตรีต่างประเทศของฮิตเลอร์ และอดีตเอกอัครราชทูตประจำกรุงลอนดอน โจอาคิม ฟอน ริบเบนทรอพ ยืนยันแก่เขาว่าทั้งอังกฤษและฝรั่งเศสจะไม่เคารพการผูกมัดของพวกตนต่อโปแลนด์ และสงครามเยอรมนี-โปแลนด์จะเป็นเพียงสงครามในภูมิภาคจำกัด{{sfn|Bloch|1992|p=228}}{{sfn|Overy|1989|p=56}} ริบเบนทรอพอ้างว่าในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 938 รัฐมนตรีต่างประเทศฝรั่งเศส ชอร์ช บอเน (Georges Bonnet) ได้แถลงว่า ฝรั่งเศสมองว่ายุโรปตะวันออกเป็นเขตอิทธิพลจำเพาะของเยอรมนี{{sfn|Bloch|1992|pp=210, 228}} ริบเบนทรอพได้แสดงโทรเลขภายใน (diplomatic cable) แก่ฮิตเลอร์ซึ่งสนับสนุนการวิเคราะห์ของเขา<ref name="Craig1983" /> เอกอัครราชทูตเยอรมนีประจำกรุงลอนดอน แฮร์แบร์ท ฟอน ดีร์คเซน สนับสนุนการวิเคราะห์ของริบเบนทรอพด้วยการเดินหนังสือในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1939 โดยรายงานว่าเชมเบอร์เลนทราบ "โครงสร้างสังคมของอังกฤษ กระทั่งกรอบความคิดของจักรวรรดิอังกฤษ ว่าจะไม่รอดพ้นความยุ่งเหยิงของสงครามแม้จะชนะก็ตาม" และดังนั้นจึงจะยอมอ่อนตาม{{sfn|Overy|1989|p=56}} เมื่อเป็นเช่นนั้น วันที่ 21 สิงหาคม ค.ศ. 1939 ฮิตเลอร์จึงสั่งระดมพลต่อโปแลนด์<ref name="Overy1999-2" />
 
ฮิตเลอร์เดิมกังวลว่าการโจมตีทางทหารต่อโปแลนด์อาจส่งผลให้เกิดสงครามกับอังกฤษก่อนเวลาอันควร{{sfn|Messerschmidt|1990|pp=688–690}}<ref name="Robertson1985" /> อย่างไรก็ดี รัฐมนตรีต่างประเทศของฮิตเลอร์ และอดีตเอกอัครราชทูตประจำกรุงลอนดอน โจอาคิม ฟอน ริบเบนทรอพ ยืนยันแก่เขาว่าทั้งอังกฤษและฝรั่งเศสจะไม่เคารพการผูกมัดของพวกตนต่อโปแลนด์ และสงครามเยอรมนี-โปแลนด์จะเป็นเพียงสงครามในภูมิภาคจำกัด{{sfn|Bloch|1992|p=228}}{{sfn|Overy|1989|p=56}} ริบเบนทรอพอ้างว่าในเดือนสิงหาคม ค.ศ.938 รัฐมนตรีต่างประเทศฝรั่งเศส ชอร์ช บอเน (Georges Bonnet) ได้แถลงว่า ฝรั่งเศสมองว่ายุโรปตะวันออกเป็นเขตอิทธิพลจำเพาะของเยอรมนี{{sfn|Bloch|1992|pp=210, 228}} ริบเบนทรอพได้แสดงโทรเลขภายใน (diplomatic cable) แก่ฮิตเลอร์ซึ่งสนับสนุนการวิเคราะห์ของเขา<ref name="Craig1983" /> เอกอัครราชทูตเยอรมนีประจำกรุงลอนดอน แฮร์แบร์ท ฟอน ดีร์คเซน สนับสนุนการวิเคราะห์ของริบเบนทรอพด้วยการเดินหนังสือในเดือนสิงหาคม ค.ศ.1939 โดยรายงานว่าเชมเบอร์เลนทราบ "โครงสร้างสังคมของอังกฤษ กระทั่งกรอบความคิดของจักรวรรดิอังกฤษ ว่าจะไม่รอดพ้นความยุ่งเหยิงของสงครามแม้จะชนะก็ตาม" และดังนั้นจึงจะยอมอ่อนตาม{{sfn|Overy|1989|p=56}} เมื่อเป็นเช่นนั้น วันที่ 21 สิงหาคม ค.ศ.1939 ฮิตเลอร์จึงสั่งระดมพลต่อโปแลนด์<ref name="Overy1999-2" />
แผนการสำหรับการทัพทางทหารในโปแลนด์ของฮิตเลอร์เมื่อปลายเดือนสิงหาคมหรือต้นเดือนกันยายนนั้นต้องอาศัยการสนับสนุนโดยปริยายของโซเวียต{{sfn|Robertson|1963|pp=181–187}} สนธิสัญญาไม่รุกรานกัน ([[สนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ]]) ระหว่างเยอรมนีกับ[[สหภาพโซเวียต]] ภายใต้การนำของ[[โจเซฟ สตาลิน]] รวมภาคผนวกลับด้วยความตกลงแบ่งโปแลนด์ระหว่างสองประเทศ ในการสนองต่อสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ อังกฤษและโปแลนด์ลงนามใน[[พันธมิตรทางการทหารอังกฤษ-โปแลนด์]]เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 1939 ซึ่งขัดกับที่ริบเบนทรอพพยากรณ์ไว้ว่าสนธิสัญญาที่เพิ่งก่อตั้งนี้จะตัดความสัมพันธ์ระหว่างอังกฤษ-โปแลนด์ พันธมิตรนี้ ร่วมกับข่าวจาก[[อิตาลี]]ที่ว่ามุสโสลินีจะไม่นับถือ[[สนธิสัญญาเหล็ก]] ทำให้ฮิตเลอร์เลื่อนการโจมตีโปแลนด์ออกไปจากวันที่ 25 สิงหาคม ไปเป็น 1 กันยายน{{sfn|Bloch|1992|pp=252–253}} ไม่กี่วันก่อนสงครามเริ่มต้น ฮิตเลอร์พยายามออกอุบายให้อังกฤษวางตัวเป็นกลางโดยเสนอการรับประกันไม่รุกรานต่อ[[จักรวรรดิอังกฤษ]]เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม และโดยให้ริบเบนทรอพเสนอแผนสันติภาพนาทีสุดท้ายด้วยจำกัดเวลาสั้นอย่างเป็นไปไม่ได้ในความพยายามที่จะกล่าวโทษว่าสงครามเป็นผลจากความเฉื่อยชาของอังกฤษและโปแลนด์<ref name="Weinberg1995" />{{sfn|Bloch|1992|pp=255–257}}
 
แผนการสำหรับการทัพทางทหารในโปแลนด์ของฮิตเลอร์เมื่อปลายเดือนสิงหาคมหรือต้นเดือนกันยายนนั้นต้องอาศัยการสนับสนุนโดยปริยายของโซเวียต{{sfn|Robertson|1963|pp=181–187}} สนธิสัญญาไม่รุกรานกัน ([[สนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ]]) ระหว่างเยอรมนีกับ[[สหภาพโซเวียต]] ภายใต้การนำของ[[โจเซฟ สตาลิน]] รวมภาคผนวกลับด้วยความตกลงแบ่งโปแลนด์ระหว่างสองประเทศ ในการสนองต่อสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ อังกฤษและโปแลนด์ลงนามใน[[พันธมิตรทางการทหารอังกฤษ-โปแลนด์]]เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ.1939 ซึ่งขัดกับที่ริบเบนทรอพพยากรณ์ไว้ว่าสนธิสัญญาที่เพิ่งก่อตั้งนี้จะตัดความสัมพันธ์ระหว่างอังกฤษ-โปแลนด์ พันธมิตรนี้ ร่วมกับข่าวจาก[[อิตาลี]]ที่ว่ามุสโสลินีจะไม่นับถือ[[สนธิสัญญาเหล็ก]] ทำให้ฮิตเลอร์เลื่อนการโจมตีโปแลนด์ออกไปจากวันที่ 25 สิงหาคม ไปเป็น 1 กันยายน{{sfn|Bloch|1992|pp=252–253}} ไม่กี่วันก่อนสงครามเริ่มต้น ฮิตเลอร์พยายามออกอุบายให้อังกฤษวางตัวเป็นกลางโดยเสนอการรับประกันไม่รุกรานต่อ[[จักรวรรดิอังกฤษ]]เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม และโดยให้ริบเบนทรอพเสนอแผนสันติภาพนาทีสุดท้ายด้วยจำกัดเวลาสั้นอย่างเป็นไปไม่ได้ในความพยายามที่จะกล่าวโทษว่าสงครามเป็นผลจากความเฉื่อยชาของอังกฤษและโปแลนด์<ref name="Weinberg1995" />{{sfn|Bloch|1992|pp=255–257}}
เพื่อใช้เป็นข้ออ้างสำหรับการรุกรานทางทหารต่อโปแลนด์ ฮิตเลอร์จึงอ้างสิทธิเหนือนครเสรีดานซิกและสิทธิในถนนนอกอาณาเขตข้ามฉนวนโปแลนด์ ซึ่งเยอรมนีได้ยกให้ภายใต้สนธิสัญญาแวร์ซาย{{sfn|Weinberg|1980|pp=561–562, 583–584}} แม้ความกังวลของฮิตเลอร์ว่าอังกฤษอาจเข้าแทรกแซง ท้ายที่สุด เขาไม่ได้ยุติเป้าหมายในอันที่จะรุกรานโปแลนด์{{sfn|Messerschmidt|1990|p=714}} และวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1939 เยอรมนีก็ได้[[การรุกรานโปแลนด์|รุกรานโปแลนด์ทางตะวันตก]] อังกฤษและฝรั่งเศสสนองโดยประกาศสงครามต่อเยอรมนีในวันที่ 3 กันยายน ซึ่งได้สร้างความประหลาดใจแก่ฮิตเลอร์ ทำให้เขาหันไปหาริบเบนทรอพและถามเขาอย่างโกรธ ๆ ว่า "ไงล่ะทีนี้"{{sfn|Bloch|1992|p=260}} ฝรั่งเศสและอังกฤษมิได้ปฏิบัติตามการประกาศของตนในทันที และเมื่อวันที่ 17 กันยายน กองทัพโซเวียตรุกรานโปแลนด์จากทางตะวันออก{{sfn|Hakim|1995}}
 
เพื่อใช้เป็นข้ออ้างสำหรับการรุกรานทางทหารต่อโปแลนด์ ฮิตเลอร์จึงอ้างสิทธิเหนือนครเสรีดานซิกและสิทธิในถนนนอกอาณาเขตข้ามฉนวนโปแลนด์ ซึ่งเยอรมนีได้ยกให้ภายใต้สนธิสัญญาแวร์ซาย{{sfn|Weinberg|1980|pp=561–562, 583–584}} แม้ความกังวลของฮิตเลอร์ว่าอังกฤษอาจเข้าแทรกแซง ท้ายที่สุด เขาไม่ได้ยุติเป้าหมายในอันที่จะรุกรานโปแลนด์{{sfn|Messerschmidt|1990|p=714}} และวันที่ 1 กันยายน ค.ศ.1939 เยอรมนีก็ได้[[การรุกรานโปแลนด์|รุกรานโปแลนด์ทางตะวันตก]] อังกฤษและฝรั่งเศสสนองโดยประกาศสงครามต่อเยอรมนีในวันที่ 3 กันยายน ซึ่งได้สร้างความประหลาดใจแก่ฮิตเลอร์ ทำให้เขาหันไปหาริบเบนทรอพและถามเขาอย่างโกรธ ๆ ว่า "ไงล่ะทีนี้"{{sfn|Bloch|1992|p=260}} ฝรั่งเศสและอังกฤษมิได้ปฏิบัติตามการประกาศของตนในทันที และเมื่อวันที่ 17 กันยายน กองทัพโซเวียตรุกรานโปแลนด์จากทางตะวันออก{{sfn|Hakim|1995}}
 
{{quote
|โปแลนด์จะไม่มีวันกำหนดขึ้นใหม่ในรูปของสนธิสัญญาแวร์ซาย ซึ่งไม่ได้รับประกันแต่เฉพาะโดยเยอรมนี แต่ยังรวมถึง ... รัสเซีย
|อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ สุนทรพจน์ต่อสาธารณะในดานซิก ปลายเดือนกันยายน ค.ศ. 1939<ref name="Time1939" />
}}
 
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 183-2008-0922-500, Reichstag, Begrüßung Adolf Hitler.jpg|thumb|upright|สมาชิกไรช์สทักแสดงความเคารพต่อฮิตเลอร์ที่โรงอุปรากรครอลล์เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม ค.ศ. 1939 หลังสิ้นสุด[[การรุกรานโปแลนด์|การทัพต่อโปแลนด์]]]]
 
การสูญเสียโปแลนด์ตามมาด้วยสิ่งที่นักหนังสือพิมพ์ร่วมสมัยเรียกว่า "[[สงครามลวง]]" หรือซิทซครีก ฮิตเลอร์สั่งการให้เกาไลแตร์แห่งโปแลนด์ตะวันตกเฉียงเหนือ อัลแบร์ท ฟอร์สแตร์ และอาร์ธูร์ ไกรแซร์ "แผลง[พื้นที่]เป็นเยอรมัน" (Germanise) และให้สัญญาแก่ทั้งสองว่า "จะไม่มีการตั้งคำถาม" ถึงวิธีการที่ใช้{{sfn|Rees|1997|pp=141–145}} ด้วยความรำคาญใจของฮิมม์เลอร์ ฟอร์สแตร์ให้ชาวโปแลนด์ท้องถิ่นลงนามในแบบซึ่งประกาศว่าพวกเขามีเลือดเยอรมัน และไม่ต้องใช้เอกสารหลักฐานอื่นประกอบ{{sfn|Kershaw|2008|p=527}} แต่อีกด้านหนึ่ง ไกรแซร์เริ่มการรณรงค์ล้างเชื้อชาติอย่างโหดร้ายต่อประชากรโปแลนด์ในอำนาจของเขา{{sfn|Rees|1997|pp=141–145}} ไกรแซร์บ่นกับฮิตเลอร์ว่าฟอร์สแตร์อนุญาตให้ชาวโปแลนด์หลายพันคนได้รับการยอมรับว่าเป็นชาวเยอรมัน "โดยเชื้อชาติ" และดังนั้น ในมุมมองของไกรแซร์ จึงเป็นอันตรายต่อ "ความบริสุทธิ์ทางเชื้อชาติ" ของเยอรมัน ฮิตเลอร์บอกฮิมม์เลอร์และไกรแซร์ให้ยอมรับความขับข้องกับฟอร์สแตร์ และไม่ให้ข้องเกี่ยวกับเขา{{sfn|Rees|1997|pp=141–145}} การจัดการกับกรณีพิพาทฟอร์สแตร์-ไกรแซร์นั้น ได้ถูกพัฒนาเป็นตัวอย่างทฤษฎี "ทำงานมุ่งสู่ฟือเรอร์" ของเคอร์ชอว์ หมายความว่า ฮิตเลอร์สั่งการอย่างคลุมเครือและคาดหวังให้ผู้ใต้บังคับบัญชาของเขาไปดำเนินนโยบายของตนเอง
 
อีกกรณีพิพาทหนึ่งเกิดขึ้นระหว่างฝ่ายที่แตกต่างกัน ด้านหนึ่ง นำโดยฮิมม์เลอร์และไกรแซร์ สนับสนุนการกวาดล้างเชื้อชาติในโปแลนด์ และอีกด้านหนึ่ง นำโดย[[เกอริง]]และ[[ฮันส์ ฟรังค์]] เรียกร้องให้เปลี่ยนโปแลนด์เป็น "ยุ้งฉาง" ของไรช์{{sfn|Rees|1997|pp=148–149}} ที่การประชุมจัดที่คฤหาสน์คารินฮัลของเกอริงเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1940 กรณีพิพาทนี้เดิมถ฿ถูกได้รับการตัดสินเห็นชอบกับมุมมองการแสวงหาประโยชน์ทางเศรษฐกิจของเกอริง-ฟรังค์ ซึ่งยุติการขับไล่ขนานใหญ่ซึ่งก่อกวนทางเศรษฐกิจ{{sfn|Rees|1997|pp=148–149}} อย่างไรก็ดี วันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1940 ฮิมม์เลอร์นำเสนอฮิตเลอร์ด้วยบันทึกข้อความชื่อว่า "บางคติว่าด้วยการปฏิบัติต่อประชากรต่างด้าวในทางตะวันออก" ซึ่งเรียกร้องให้ขับไล่ประชากรยิวทั้งยุโรปไปยังแอฟริกาและลดฐานะประชากรโปแลนด์ที่เหลือลงเป็น "ชนชั้นแรงงานไร้ผู้นำ"{{sfn|Rees|1997|pp=148–149}} ฮิตเลอร์เรียกบันทึกข้อความของฮิมม์เลอร์ว่า "ดีและถูกต้อง"{{sfn|Rees|1997|pp=148–149}} เขาจึงฉีกสิ่งที่เรียกว่าความตกลงคารินฮัลและนำมุมมองของฮิมม์เลอร์-ไกรแซร์ไปปฏิบัติเป็นนโยบายของเยอรมนีต่อประชากรโปแลนด์
 
[[ไฟล์:Adolf Hitler in Paris 1940.jpg|thumb|upright|left|ฮิตเลอร์เยือนกรุงปารีสพร้อมด้วยสถาปนิก อัลเบิร์ท สเพียร์ (ซ้าย) และศิลปิน อาร์โน เบรเกอร์ 23 มิถุนายน ค.ศ.1941]]
 
ฮิตเลอร์สั่งการให้เสริมสร้างกำลังทหารตามชายแดนตะวันตกของเยอรมนี และในเดือนเมษายน ค.ศ.1940 กองทัพเยอรมันรุกรานเดนมาร์กและนอร์เวย์ ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ.1940 กองทัพของฮิตเลอร์โจมตีฝรั่งเศส และพิชิตลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์และเบลเยียม ชัยชนะเหล่านี้กระตุ้นให้มุสโสลินีนำอิตาลีเข้าพวกกับฮิตเลอร์ในวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ.1940 ฝรั่งเศสยอมจำนนเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ.1940{{sfn|Shirer|1960|pp=696–730}}
[[ไฟล์:Adolf Hitler in Paris 1940.jpg|thumb|upright|left|ฮิตเลอร์เยือนกรุงปารีสพร้อมด้วยสถาปนิก อัลเบิร์ท สเพียร์ (ซ้าย) และศิลปิน อาร์โน เบรเกอร์ 23 มิถุนายน ค.ศ. 1941]]
ฮิตเลอร์สั่งการให้เสริมสร้างกำลังทหารตามชายแดนตะวันตกของเยอรมนี และในเดือนเมษายน ค.ศ. 1940 กองทัพเยอรมันรุกรานเดนมาร์กและนอร์เวย์ ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1940 กองทัพของฮิตเลอร์โจมตีฝรั่งเศส และพิชิตลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์และเบลเยียม ชัยชนะเหล่านี้กระตุ้นให้มุสโสลินีนำอิตาลีเข้าพวกกับฮิตเลอร์ในวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ. 1940 ฝรั่งเศสยอมจำนนเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1940{{sfn|Shirer|1960|pp=696–730}}
 
อังกฤษ ซึ่งกองทัพถูกบีบให้ออกจากฝรั่งเศสทางทะเลจากดันเคิร์ก{{sfn|Shirer|1960|pp=731–737}} ยังคงสู้รบเคียงข้าง[[เครือจักรภพแห่งชาติ|เครือจักรภพอังกฤษอื่น ๆ]] ในยุทธนาวีแอตแลนติก ฮิตเลอร์ทาบทามสันติภาพต่ออังกฤษ ซึ่งขณะนี้นำโดย[[วินสตัน เชอร์ชิลล์]] และเมื่อการทาบทามนั้นถูกปฏิเสธ เขาได้สั่งการทิ้งระเบิดโฉบฉวยต่อสหราชอาณาจักร โหมโรงสู่การรุกรานสหราชอาณาจักรที่วางแผนไว้ของฮิตเลอร์เป็นชุดการโจมตีทางอากาศใน[[ยุทธการบริเตน]]ต่อฐานทัพอากาศกองทัพอากาศอังกฤษ และสถานีเรดาร์ทางตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ดี ลุฟท์วัฟเฟของเยอรมนีล้มเหลวที่จะเอาชนะกองทัพอากาศอังกฤษ{{sfn|Shirer|1960|pp=774–782}}
 
วันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1940 [[สนธิสัญญาไตรภาคี]]ได้รับการลงนามในกรุงเบอร์ลิน โดยซาบุโร คุรุสุ แห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น, ฮิตเลอร์ และรัฐมนตรีต่างประเทศอิตาลี ซิอาโน{{sfn|Kershaw|2008|p=580}} ความตกลงดังกล่าวภายหลังขยายไปรวมถึงฮังการี โรมาเนียและบัลแกเรียด้วย ประเทศเหล่านี้รู้จักกันในชื่อกลุ่ม[[ฝ่ายอักษะ|อักษะประเทศ]] จุดประสงค์ของสนธิสัญญาคือ เพื่อขัดขวางสหรัฐอเมริกามิให้สนับสนุนอังกฤษ จนถึงปลายเดือนตุลาคม ค.ศ. 1940 ความเป็นเจ้าทางอากาศสำหรับการรุกรานอังกฤษ [[ปฏิบัติการสิงโตทะเล]] ไม่อาจบรรลุได้ และฮิตเลอร์สั่งการตีโฉบฉวยทางอากาศยามกลางคืนตามนครต่าง ๆ ของอังกฤษ รวมทั้งลอนดอน [[พลีมัธ]]และ[[โคเวนทรี]]{{sfn|Kershaw|2008|p=570}}
 
ในฤดูใบไม้ผลิ ค.ศ. 1941 ฮิตเลอร์ถูกทำให้ไขว้เขวจากแผนการทางตะวันออกโดยกิจกรรมทางทหารในแอฟริกาเหนือ [[คาบสมุทรบอลข่าน]]และ[[ตะวันออกกลาง]] ในเดือนกุมภาพันธ์ กองทัพเยอรมันไปถึงลิเบียเพื่อสนับสนุนอิตาลี ในเดือนเมษายน ฮิตเลอร์สั่งการรุกรานยูโกสลาเวีย และตามด้วยการรุกรานกรีซในเวลาอันรวดเร็ว{{sfn|Kershaw|2008|p=604–605}} ในเดือนพฤษภาคม กองทัพเยอรมันถูกส่งไปสนับสนุนกำลังกบฏอิรักที่สู้รบต่ออังกฤษและ[[ยุทธการครีต|รุกรานครีต]] วันที่ 23 พฤษภาคม ฮิตเลอร์ออกคำสั่งฟือเรอร์ ฉบับที่ 30{{sfn|Kurowski|2005|pp=141–142}}
 
=== ทางสู่ความปราชัย ===
เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 โดยฝ่าฝืนสนธิสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างฮิตเลอร์-สตาลิน กำลังเยอรมันสามล้านนายโจมตีสหภาพโซเวียตใน[[ปฏิบัติการบาร์บารอสซา]]{{sfn|Shirer|1960|p=830}} การรุกรานนี้ได้ยึดพื้นที่ได้กว้างใหญ่ไพศาล รวมทั้งรัฐบอลติก เบลารุสและยูเครน อย่างไรก็ดี การรุกคืบของเยอรมนีหยุดลงไม่ไกลจากกรุงมอสโกในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1941 โดยฤดูหนาวของรัสเซียและการต้านทานอย่างดุเดือดของโซเวียต{{sfn|Shirer|1960|p=863}}
 
เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ.1941 โดยฝ่าฝืนสนธิสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างฮิตเลอร์-สตาลิน กำลังเยอรมันสามล้านนายโจมตีสหภาพโซเวียตใน[[ปฏิบัติการบาร์บารอสซา]]{{sfn|Shirer|1960|p=830}} การรุกรานนี้ได้ยึดพื้นที่ได้กว้างใหญ่ไพศาล รวมทั้งรัฐบอลติก เบลารุสและยูเครน อย่างไรก็ดี การรุกคืบของเยอรมนีหยุดลงไม่ไกลจากกรุงมอสโกในเดือนธันวาคม ค.ศ.1941 โดยฤดูหนาวของรัสเซียและการต้านทานอย่างดุเดือดของโซเวียต{{sfn|Shirer|1960|p=863}}
การชุมนุมของทหารโซเวียตตรงพรมแดนตะวันออกของเยอรมนีในฤดูใบไม้ผลิ ค.ศ. 1941 อาจเป็นเหตุให้ฮิตเลอร์มามีส่วนในฟลุคท์ นัค ฟอร์น ("บินไปข้างหน้า") เพื่อเผชิญหน้ากับความขัดแย้งอันหลีกเลี่ยงไม่ได้ วิกตอร์ ซูโวรอฟ, แอร์นสท์ โทพิทช์, โจอาคิม ฮอฟฟ์มันน์, แอร์นสท์ นอลเทอ และเดวิด เอียร์วิง ได้ถกเถียงกันว่าเหตุผลอย่างเป็นทางการสำหรับบาร์บารอสซาที่กองทัพเยอรมันให้นั้นเป็นเหตุผลแท้จริง คือ สงครามป้องกันเพื่อปัดป้องการโจมตีของโซเวียตที่เตรียมการไว้เมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1941 อย่างไรก็ดี ทฤษฎีนี้ถูกติเตียน นักประวัติศาสตร์อเมริกัน เกอร์ฮาร์ด ไวน์เบิร์ก เคยเปรียบเทียบผู้สนับสนุนทฤษฎีสงครามป้องกันกับผู้ที่เชื่อใน "เทพนิยาย"<ref name="Weinberg1989" />
 
การชุมนุมของทหารโซเวียตตรงพรมแดนตะวันออกของเยอรมนีในฤดูใบไม้ผลิ ค.ศ. 1941 อาจเป็นเหตุให้ฮิตเลอร์มามีส่วนในฟลุคท์ นัค ฟอร์น ("บินไปข้างหน้า") เพื่อเผชิญหน้ากับความขัดแย้งอันหลีกเลี่ยงไม่ได้ วิกตอร์ ซูโวรอฟ, แอร์นสท์ โทพิทช์, โจอาคิม ฮอฟฟ์มันน์, แอร์นสท์ นอลเทอ และเดวิด เอียร์วิง ได้ถกเถียงกันว่าเหตุผลอย่างเป็นทางการสำหรับบาร์บารอสซาที่กองทัพเยอรมันให้นั้นเป็นเหตุผลแท้จริง คือ สงครามป้องกันเพื่อปัดป้องการโจมตีของโซเวียตที่เตรียมการไว้เมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1941 อย่างไรก็ดี ทฤษฎีนี้ถูกติเตียน นักประวัติศาสตร์อเมริกัน เกอร์ฮาร์ด ไวน์เบิร์ก เคยเปรียบเทียบผู้สนับสนุนทฤษฎีสงครามป้องกันกับผู้ที่เชื่อใน "เทพนิยาย"<ref name="Weinberg1989" />
การรุกรานสหภาพโซเวียตของกองทัพบกเยอรมันถึงขีดสุดเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 1941 เมื่อกองพลทหารราบที่ 258 รุกเข้าไปภายในรัศมี 24 กิโลเมตรจากกรุงมอสโก ใกล้พอที่จะเห็นยอดแหลมของเครมลิน{{sfn|Shirer|1960|p=863}} อย่างไรก็ดี พวกเขาไม่ได้เตรียมการสำหรับสภาพอันโหดร้ายของฤดูหนาวรัสเซีย และกองทัพโซเวียตผลักดันกองทัพเยอรมันกลับมาเป็นระยะทางกว่า 320 กิโลเมตร
 
การรุกรานสหภาพโซเวียตของกองทัพบกเยอรมันถึงขีดสุดเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ.1941 เมื่อกองพลทหารราบที่ 258 รุกเข้าไปภายในรัศมี 24 กิโลเมตรจากกรุงมอสโก ใกล้พอที่จะเห็นยอดแหลมของเครมลิน{{sfn|Shirer|1960|p=863}} อย่างไรก็ดี พวกเขาไม่ได้เตรียมการสำหรับสภาพอันโหดร้ายของฤดูหนาวรัสเซีย และกองทัพโซเวียตผลักดันกองทัพเยอรมันกลับมาเป็นระยะทางกว่า 320 กิโลเมตร
วันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 [[การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์|ญี่ปุ่นโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์]] รัฐฮาวาย สี่วันให้หลัง การประกาศสงครามอย่างเป็นทางการต่อสหรัฐอเมริกาของฮิตเลอร์ ทำให้เยอรมนีเข้าสู่สงครามกับกำลังผสมซึ่งมีประเทศจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในโลก คือ [[จักรวรรดิอังกฤษ]] ประเทศอุตสาหกรรมและการเงินยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก คือ [[สหรัฐอเมริกา]] และประเทศที่มีกองทัพใหญ่ที่สุดในโลก คือ [[สหภาพโซเวียต]]{{sfn|Shirer|1960|p=900–901}}
 
วันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ.1941 [[การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์|ญี่ปุ่นโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์]] รัฐฮาวาย สี่วันให้หลัง การประกาศสงครามอย่างเป็นทางการต่อสหรัฐอเมริกาของฮิตเลอร์ ทำให้เยอรมนีเข้าสู่สงครามกับกำลังผสมซึ่งมีประเทศจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในโลก คือ [[จักรวรรดิอังกฤษ]] ประเทศอุตสาหกรรมและการเงินยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก คือ [[สหรัฐอเมริกา]] และประเทศที่มีกองทัพใหญ่ที่สุดในโลก คือ [[สหภาพโซเวียต]]{{sfn|Shirer|1960|p=900–901}}
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 183-1987-0703-507, Berlin, Reichstagssitzung, Rede Adolf Hitler.jpg|thumb|left|ฮิตเลอร์ระหว่างสุนทรพจน์ต่อไรช์สทักโจมตีประธานาธิบดีสหรัฐ [[แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์]] 11 ธันวาคม 1941]]
 
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 183-1987-0703-507, Berlin, Reichstagssitzung, Rede Adolf Hitler.jpg|thumb|left|ฮิตเลอร์ระหว่างสุนทรพจน์ต่อไรช์สทักโจมตีประธานาธิบดีสหรัฐ [[แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์]] 11 ธันวาคม ค.ศ.1941]]
เมื่อฮิมม์เลอร์พบฮิตเลอร์ในวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1941 แล้วตั้งคำถาม "จะทำอย่างไรกับยิวแห่งรัสเซีย" ฮิตเลอร์ตอบว่า "''als Partisanen auszurotten''" ("กำจัดพวกเขาเหมือนเป็นพลพรรค" (partisan)){{sfn|Bauer|2000|p=5}} นักประวัติศาสตร์อิสราเอล เยฮูดา บาวเออร์ (Yehuda Bauer) ได้ออกความเห็นว่า ความเห็นของฮิตเลอร์นี้อาจใกล้เคียงมากที่สุดเท่าที่นักประวัติศาสตร์จะหาคำสั่งสรุปขั้นสุดท้ายจากฮิตเลอร์ใน[[พันธุฆาต]]ที่ดำเนินระหว่างการล้างชาติโดยนาซี{{sfn|Bauer|2000|p=5}}
 
เมื่อฮิมม์เลอร์พบฮิตเลอร์ในวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ.1941 แล้วตั้งคำถาม "จะทำอย่างไรกับยิวแห่งรัสเซีย" ฮิตเลอร์ตอบว่า "''als Partisanen auszurotten''" ("กำจัดพวกเขาเหมือนเป็นพลพรรค" (partisan)){{sfn|Bauer|2000|p=5}} นักประวัติศาสตร์อิสราเอล เยฮูดา บาวเออร์ (Yehuda Bauer) ได้ออกความเห็นว่า ความเห็นของฮิตเลอร์นี้อาจใกล้เคียงมากที่สุดเท่าที่นักประวัติศาสตร์จะหาคำสั่งสรุปขั้นสุดท้ายจากฮิตเลอร์ใน[[พันธุฆาต]]ที่ดำเนินระหว่างการล้างชาติโดยนาซี{{sfn|Bauer|2000|p=5}}
ปลาย ค.ศ. 1942 กองทัพเยอรมันปราชัยในยุทธการเอล อาลาเมนครั้งที่สอง{{sfn|Shirer|1960|p=921}} ขัดขวางแผนการของฮิตเลอร์ในการยึด[[คลองสุเอซ]]และ[[ตะวันออกกลาง]] เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1943 [[ยุทธการสตาลินกราด]]สิ้นสุดลงด้วยกองทัพเยอรมันที่หกถูกทำลายลงอย่างสิ้นเชิง ตามด้วยความพ่ายแพ้เด็ดขาดในยุทธการเคิสก์{{sfn|Shirer|1960|p=1006}} การตัดสินใจทางทหารของฮิตเลอร์เริ่มไม่มั่นคงเพิ่มขึ้น และฐานะทางทหารและเศรษฐกิจของเยอรมนีบั่นทอนลงไปพร้อมกับสุขภาพของฮิตเลอร์ เคอร์ชอว์และคนอื่นๆ เชื่อว่า ฮิตเลอร์อาจเจ็บป่วยด้วย[[โรคพาร์กินสัน]]<ref name="BBC1999" />
 
ปลาย ค.ศ.1942 กองทัพเยอรมันปราชัยในยุทธการเอล อาลาเมนครั้งที่สอง{{sfn|Shirer|1960|p=921}} ขัดขวางแผนการของฮิตเลอร์ในการยึด[[คลองสุเอซ]]และ[[ตะวันออกกลาง]] เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ.1943 [[ยุทธการสตาลินกราด]]สิ้นสุดลงด้วยกองทัพเยอรมันที่หกถูกทำลายลงอย่างสิ้นเชิง ตามด้วยความพ่ายแพ้เด็ดขาดในยุทธการเคิสก์{{sfn|Shirer|1960|p=1006}} การตัดสินใจทางทหารของฮิตเลอร์เริ่มไม่มั่นคงเพิ่มขึ้น และฐานะทางทหารและเศรษฐกิจของเยอรมนีบั่นทอนลงไปพร้อมกับสุขภาพของฮิตเลอร์ เคอร์ชอว์และคนอื่นๆ เชื่อว่า ฮิตเลอร์อาจเจ็บป่วยด้วย[[โรคพาร์กินสัน]]<ref name="BBC1999" />
หลังการรุกรานอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรใน ค.ศ. 1943 มุสโสลินีถูกปลดโดย ปีเอโตร บาโดลโย{{sfn|Shirer|1960|p=997}} ผู้ยอมจำนนต่อฝ่ายสัมพันธมิตร ตลอด ค.ศ. 1943 และ 1944 สหภาพโซเวียตค่อยๆ บีบให้กองทัพของฮิตเลอร์ล่าถอยตามแนวรบด้านตะวันออก วันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 1944 กองทัพสัมพันธมิตรตะวันตกขึ้นฝั่งทางตอนเหนือของฝรั่งเศสในหนึ่งในปฏิบัติการสะเทินน้ำสะเทินบกที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ [[ปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด]]{{sfn|Shirer|1960|p=1036}} ด้วยเหตุความเสื่อมถอยของกองทัพเยอรมัน นายทหารหลายคนจึงสรุปว่า ความพ่ายแพ้หลีกเลี่ยงไม่ได้ และการตัดสินใจผิดพลาดหรือการปฏิเสธของฮิตเลอร์จะยืดสงครามออกไปและส่งผลให้ประเทศชาติพังพินาศย่อยยับ{{sfn|Speer|1971|p=513–514}} ความพยายามลอบสังหารที่ได้รับความสนใจหลายครั้งต่อฮิตเลอร์เกิดขึ้นระหว่างช่วงนี้
 
หลังการรุกรานอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรใน ค.ศ.1943 มุสโสลินีถูกปลดโดย ปีเอโตร บาโดลโย{{sfn|Shirer|1960|p=997}} ผู้ยอมจำนนต่อฝ่ายสัมพันธมิตร ตลอด ค.ศ.1943 และ 1944 สหภาพโซเวียตค่อยๆ บีบให้กองทัพของฮิตเลอร์ล่าถอยตามแนวรบด้านตะวันออก วันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ.1944 กองทัพสัมพันธมิตรตะวันตกขึ้นฝั่งทางตอนเหนือของฝรั่งเศสในหนึ่งในปฏิบัติการสะเทินน้ำสะเทินบกที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ [[ปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด]]{{sfn|Shirer|1960|p=1036}} ด้วยเหตุความเสื่อมถอยของกองทัพเยอรมัน นายทหารหลายคนจึงสรุปว่า ความพ่ายแพ้หลีกเลี่ยงไม่ได้ และการตัดสินใจผิดพลาดหรือการปฏิเสธของฮิตเลอร์จะยืดสงครามออกไปและส่งผลให้ประเทศชาติพังพินาศย่อยยับ{{sfn|Speer|1971|p=513–514}} ความพยายามลอบสังหารที่ได้รับความสนใจหลายครั้งต่อฮิตเลอร์เกิดขึ้นระหว่างช่วงนี้
 
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1972-025-12, Zerstörte Lagerbaracke nach dem 20. Juli 1944.jpg|thumb|ห้องแผนที่ซึ่งถูกทำลายที่รังหมาป่าหลังแผนลับ 20 กรกฎาคม]]
 
ระหว่าง ค.ศ. 1939 และ 1945 มีหลายแผนในการลอบสังหารฮิตเลอร์ ซึ่งบางแผนดำเนินไปยังระดับที่สำคัญ{{sfn|Kershaw|2008|pp=544–547, 821–822, 827–828}} แผนที่เป็นที่รู้จักกันมากที่สุดมาจากภายในเยอรมนี และอย่างน้อยบางส่วนมาจากโอกาสที่เพิ่มขึ้นที่เยอรมนีจะแพ้สงคราม{{sfn|Kershaw|2008|p=816–818}} ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1944 [[แผนลับ 20 กรกฎาคม]] ส่วนหนึ่งของ[[ปฏิบัติการวาลคิรี]] เคลาส์ ฟอน สเตาฟ์เฟนแบร์กติดตั้งระเบิดไว้ในกองบัญชาการแห่งหนึ่งของฮิตเลอร์ โวลฟ์สชันเซอ ([[รังหมาป่า]]) ที่รัสเทนบูร์ก ฮิตเลอร์รอดชีวิตอย่างหวุดหวิดเพราะบางคนผลักกระเป๋าเอกสารที่บรรจุระเบิดไปหลังขาโต๊ะประชุมที่หนักอย่างไม่รู้ เมื่อเกิดระเบิดขึ้น โต๊ะสะท้อนแรงระเบิดส่วนมากไปจากฮิตเลอร์ ภายหลัง ฮิตเลอร์สั่งการตอบโต้อย่างโหดร้าย ซึ่งส่งผลให้มีการประหารชีวิตคนกว่า 4,900 คน{{sfn|Shirer|1960|loc=§29}}
ระหว่าง ค.ศ.1939 และ 1945 มีหลายแผนในการลอบสังหารฮิตเลอร์ ซึ่งบางแผนดำเนินไปยังระดับที่สำคัญ{{sfn|Kershaw|2008|pp=544–547, 821–822, 827–828}} แผนที่เป็นที่รู้จักกันมากที่สุดมาจากภายในเยอรมนี และอย่างน้อยบางส่วนมาจากโอกาสที่เพิ่มขึ้นที่เยอรมนีจะแพ้สงคราม{{sfn|Kershaw|2008|p=816–818}} ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1944 [[แผนลับ 20 กรกฎาคม]] ส่วนหนึ่งของ[[ปฏิบัติการวาลคิรี]] เคลาส์ ฟอน สเตาฟ์เฟนแบร์กติดตั้งระเบิดไว้ในกองบัญชาการแห่งหนึ่งของฮิตเลอร์ โวลฟ์สชันเซอ ([[รังหมาป่า]]) ที่รัสเทนบูร์ก ฮิตเลอร์รอดชีวิตอย่างหวุดหวิดเพราะบางคนผลักกระเป๋าเอกสารที่บรรจุระเบิดไปหลังขาโต๊ะประชุมที่หนักโดยไม่ได้ทราบ เมื่อเกิดระเบิดขึ้น โต๊ะสะท้อนแรงระเบิดส่วนมากไปจากฮิตเลอร์ ภายหลัง ฮิตเลอร์สั่งการตอบโต้อย่างโหดร้าย ซึ่งส่งผลให้มีการประหารชีวิตคนกว่า 4,900 คน{{sfn|Shirer|1960|loc=§29}}
 
=== ความปราชัยและอสัญกรรม ===
 
จนถึงปลาย ค.ศ. 1944 กองทัพแดงได้ขับกองทัพเยอรมันถอยกลับไปยังยุโรปตะวันตก และสัมพันธมิตรตะวันตกกำลังรุกคืบเข้าไปในเยอรมนี หลังได้รับแจ้งความล้มเหลวของการรุกอาร์เดนเนสของเขา ฮิตเลอร์จึงตระหนักว่าเยอรมนีกำลังแพ้สงคราม ความหวังของเขา ซึ่งขึ้นอยู่กับการถึงแก่อสัญกรรมของแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์เมื่อวันที่ 12 เมษายน ค.ศ. 1945 คือ การเจรจาสันติภาพกับอเมริกาและอังกฤษ{{sfn|Bullock|1962|pp=753, 763, 778, 780–781}} ฮิตเลอร์สั่งการให้ทำลายโครงสร้างพื้นฐานทางอุตสาหกรรมทั้งหมดของเยอรมนีก่อนที่จะตกอยู่ในมือฝ่ายสัมพันธมิตร{{sfn|Bullock|1962|pp=774–775}} โดยทำตามมุมมองของเขาที่ว่าความล้มเหลวทางทหารของเยอรมนีเสียสิทธิ์ในการอยู่รอดเป็นชาติ การดำเนินการแผนการเผาทุกสิ่งทุกอย่างนี้ถูกมอบหมายไปยังรัฐมนตรีอาวุธ อัลแบร์ท สเพียร์ ผู้ขัดคำสั่งเขาอย่างเงียบ ๆ{{sfn|Bullock|1962|pp=774–775}}
จนถึงปลาย ค.ศ.1944 กองทัพแดงได้ขับกองทัพเยอรมันถอยกลับไปยังยุโรปตะวันตก และสัมพันธมิตรตะวันตกกำลังรุกคืบเข้าไปในเยอรมนี หลังได้รับแจ้งความล้มเหลวของการรุกอาร์เดนเนสของเขา ฮิตเลอร์จึงตระหนักว่าเยอรมนีกำลังแพ้สงคราม ความหวังของเขา ซึ่งขึ้นอยู่กับการถึงแก่อสัญกรรมของแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์เมื่อวันที่ 12 เมษายน ค.ศ.1945 คือ การเจรจาสันติภาพกับอเมริกาและอังกฤษ{{sfn|Bullock|1962|pp=753, 763, 778, 780–781}} ฮิตเลอร์สั่งการให้ทำลายโครงสร้างพื้นฐานทางอุตสาหกรรมทั้งหมดของเยอรมนีก่อนที่จะตกอยู่ในมือฝ่ายสัมพันธมิตร{{sfn|Bullock|1962|pp=774–775}} โดยทำตามมุมมองของเขาที่ว่าความล้มเหลวทางทหารของเยอรมนีเสียสิทธิ์ในการอยู่รอดเป็นชาติ การดำเนินการแผนการเผาทุกสิ่งทุกอย่างนี้ถูกมอบหมายไปยังรัฐมนตรีอาวุธ อัลแบร์ท สเพียร์ ผู้ขัดคำสั่งเขาอย่างเงียบ ๆ{{sfn|Bullock|1962|pp=774–775}}
 
วันที่ 20 เมษายน วันเกิดปีที่ 56 ของเขา ฮิตเลอร์เดินทางครั้งสุดท้ายจาก[[ฟือแรร์บุงเกอร์]] ("ที่พักของฟือแรร์") ไปยังผิวโลก ในสวนที่ถูกทำลายของทำเนียบรัฐบาลไรช์ เขามอบกางเขนเหล็กให้ทหารเด็กแห่งยุวชนฮิตเลอร์ จนถึงวันที่ 21 เมษายน แนวรบเบลารุสที่ 1 ของ[[กิออร์กี ชูคอฟ]] ได้เจาะผ่านการป้องกันสุดท้ายของกองทัพกลุ่มวิสตูลาของพลเอก กอททาร์ด ไฮน์รีซี ระหว่างยุทธการที่ราบสูงซีโลว์ และรุกเข้าไปยังชานกรุง[[เบอร์ลิน]]{{sfn|Beevor|2002|pp=255–256}} ในการไม่ยอมรับเกี่ยวกับสถานการณ์อันเลวร้ายเพิ่มขึ้น ฮิตเลอร์ตั้งความหวังของเขาต่อหน่วย ''อาร์เมอับไทลุง สไทเนอร์'' ("กองทหารสไทเนอร์") ภายใต้การบังคับบัญชาของนายทหารวัฟเฟน เอสเอส พลเอก เฟลิกซ์ สไทเนอร์ ฮิตเลอร์สั่งการให้สไทเนอร์โจมตีปีกด้านเหนือของส่วนที่ยื่นออกมา และกองทัพเยอรมันที่เก้าได้รับคำสั่งให้โจมตีไปทางเหนือในการโจมตีแบบก้ามปู (pincer attack){{sfn|Le Tissier|2010|p=45}}
เส้น 306 ⟶ 332:
หลังเที่ยงคืนวันที่ 29 เมษายน ฮิตเลอร์สมรสกับ[[เอวา เบราน์]]ในพิธีตามกฎหมายเล็ก ๆ ในห้องแผนที่ภายในฟือแรร์บุงเกอร์ หลังทานอาหารเช้างานแต่งที่เรียบง่ายกับภรรยาใหม่ของเขา จากนั้น เขานำเลขานุการเทราดล์ จุนเกอ (Traudl Junge) ไปอีกห้องหนึ่งและบอกให้เขียนพินัยกรรมสุดท้ายของเขา{{sfn|Beevor|2002|p=343}} เหตุการณ์ดังกล่าวมีฮันส์ เครบส์, วิลเฮล์ม บูร์กดอร์ฟ โจเซฟ เกิบเบิลส์ และมาร์ติน บอร์มันน์เป็นพยานและผู้ลงนามเอกสาร{{sfn|Bullock|1962|p=795}} ในช่วงบ่าย ฮิตเลอร์ได้รับแจ้งถึงการลอบสังหารผู้เผด็จการชาวอิตาลี [[เบนิโต มุสโสลินี]] ซึ่งอาจเพิ่มความตั้งใจที่จะหนีการจับตัว{{sfn|Bullock|1962|p=798}}
 
[[ไฟล์:Stars & Stripes & Hitler Dead2.jpg|thumb|upright|หน้าแรกของหนังสือพิมพ์ของทัพสหรัฐ ''สตาร์สแแอนด์สไตรพ์'' 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1945]]
 
วันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 1945 หลังการสู้รบถนนต่อถนนอย่างเข้มข้น เมื่อกองทัพโซเวียตอยู่ในระยะหนึ่งหรือสองช่วงตึกจากทำเนียบรัฐบาลไรช์ ฮิตเลอร์และเบราน์ทำอัตวินิบาตกรรม เบราน์กัดแคปซูล[[ไซยาไนด์]]{{sfn|Linge|2009|p=199}} และฮิตเลอร์ยิงตัวตายด้วยปืนพกวัลเทอร์ เพเพคา (Walther PPK) 7.65 มม. ของเขา{{sfn|Joachimsthaler|1999|pp=160–180}} ร่างไร้วิญญาณของฮิตเลอร์และเอวา เบราน์ถูกนำขึ้นบันไดและผ่านทางออกฉุกเฉินของบังเกอร์ไปยังสวนที่ถูกระเบิดหลังทำเนียบรัฐบาลไรช์ ที่ซึ่งทั้งสองร่างถูกวางไว้ในหลุมระเบิด{{sfn|Joachimsthaler|1999|pp=217–220}} ราดด้วยน้ำมัน และจุดไฟ{{sfn|Linge|2009|p=200}} ขณะที่กองทัพแดงยิงปืนใหญ่ถล่มต่อเนื่อง{{sfn|Bullock|1962|pp=799–800}}
วันที่ 30 เมษายน ค.ศ.1945 หลังการสู้รบถนนต่อถนนอย่างเข้มข้น เมื่อกองทัพโซเวียตอยู่ในระยะหนึ่งหรือสองช่วงตึกจากทำเนียบรัฐบาลไรช์ ฮิตเลอร์และเบราน์ทำอัตวินิบาตกรรม เบราน์กัดแคปซูล[[ไซยาไนด์]]{{sfn|Linge|2009|p=199}} และฮิตเลอร์ยิงตัวตายด้วยปืนพกวัลเทอร์ เพเพคา (Walther PPK) 7.65 มม. ของเขา{{sfn|Joachimsthaler|1999|pp=160–180}} ร่างไร้วิญญาณของฮิตเลอร์และเอวา เบราน์ถูกนำขึ้นบันไดและผ่านทางออกฉุกเฉินของบังเกอร์ไปยังสวนที่ถูกระเบิดหลังทำเนียบรัฐบาลไรช์ ที่ซึ่งทั้งสองร่างถูกวางไว้ในหลุมระเบิด{{sfn|Joachimsthaler|1999|pp=217–220}} ราดด้วยน้ำมัน และจุดไฟ{{sfn|Linge|2009|p=200}} ขณะที่กองทัพแดงยิงปืนใหญ่ถล่มต่อเนื่อง{{sfn|Bullock|1962|pp=799–800}}
 
เบอร์ลินยอมจำนนเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม บันทึกในจดหมายเหตุโซเวียต ซึ่งได้มาหลังสหภาพโซเวียตล่มสลาย แสดงให้เห็นว่า ศพของฮิตเลอร์ เบราน์ โจเซฟและมักดา เกิบเบลส์ ลูก ๆ เกิบเบลส์ทั้งหกคน พลเอกฮันส์ เครบส์ และสุนัขของฮิตเลอร์ ถูกฝังและขุดขึ้นมาหลายครั้ง{{sfn|Vinogradov|2005|pp=111, 333}}