ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชาธิปไตย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{ระบอบการปกครอง}}
 
'''ราชาธิปไตย''' ({{lang-en|monarchy}}) เป็นรูปแบบการปกครองที่ตำแหน่ง[[ประมุขแห่งรัฐ]]โดยปกติถืออยู่กระทั่งสวรรคตหรือสละราชสมบัติ โดยมากมักได้อำนาจมาโดย[[การสืบราชสมบัติ]] และโดยปกติมักให้แก่พระบรมวงศานุวงศ์แห่ง[[ราชวงศ์]]ที่ปกครองอยู่ก่อนอย่างเป็นทางการ พระมหาษัตริย์มักมีฐานันดรศักดิ์เป็นพระราชาหรือพระราชินี อย่างไรก็ดี จักรพรรดิ/จักรพรรดินี, แกรนด์ดยุค/แกรนด์ดัชเชส, เจ้าชาย/เจ้าหญิง และคำอื่น ถูกใช้เพื่อระบุตำแหน่งพระมหากษัตริย์ด้วย แม้คำว่า "monarch" จะมาจากคำว่า "ผู้ปกครองคนเดียว" แต่โดยประเพณี ประมุขแห่งรัฐที่มีตำแหน่ง[[ประธานาธิบดี]]หรือผู้นำ (premier) ไม่ถูกพิจารณาว่าเป็นพระมหากษัตริย์อย่างเป็นทางการ
'''ราชาธิปไตย''' ({{lang-en|monarchy}}) เป็นรูปแบบการปกครองที่[[กษัตริย์|พระมหากษัตริย์]] (สมเด็จพระราชาธิบดี, สมเด็จพระราชินีนาถ, สมเด็จพระจักรพรรดิ, สมเด็จพระจักรพรรดินีนาถ, เจ้าฟ้าชายมกุฎราชกุมาร, เจ้าฟ้าหญิงมกุฎราชกุมารี ฯลฯ) ทรงเป็นประมุขของรัฐ ซึ่งได้อำนาจปกครองโดย[[การสืบราชสมบัติ]] ลักษณะที่ทำให้ระบอบราชาธิปไตยแตกต่างจากระบอบ[[สาธารณรัฐ]]คือ พระมหากษัตริย์ทรงครองแผ่นดินเป็นประมุขตลอดพระชนม์ชีพ ส่วนใน[[สาธารณรัฐ]] ประมุขของรัฐ (ซึ่งมักเรียกว่าประธานาธิบดี) โดยปกติแล้วมีที่มาจากการเลือกตั้ง และทำหน้าที่อยู่ในช่วงในเวลาที่แน่นอน เช่น 4 ปี 6 ปี เป็นต้น
 
โดยทั่วไป กษัตริย์มักจะครองตำแหน่งของพระองค์ตลอดชีวิต และ[[สืบราชสันตติวงศ์]] ให้กับ[[รัชทายาท]]เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคต ในระบอบสาธารณรัฐ ประมุขของรัฐมักจะมาจากการเลือกตั้งและมีกำหนดวาระ แต่ประมุขบางรัฐก็อาจจะครองตำแหน่งตลอดชีวิต หลังจากที่พระองค์สละราชย์แล้วก็จะต้องมีการเลือกตั้งผู้ที่จะทำหน้าที่สืบทอดตำแหน่ง ปัจจุบันมีราชวงศ์ 31 ราชวงศ์ครอบครองดินแดนทั้งหมด 45 ดินแดนในโลก
 
ลักษณะที่ทำให้ระบอบราชาธิปไตยแตกต่างจากระบอบ[[สาธารณรัฐ]]คือ พระมหากษัตริย์ทรงครองแผ่นดินเป็นประมุขตลอดพระชนม์ชีพ และ[[สืบราชสันตติวงศ์]]ให้กับ[[รัชทายาท]]เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคต แม้จะมีบ้างที่มีการเลือกตั้งผู้สืบทอดตำแหน่งพระมหากษัตริย์ ปัจจุบันมีราชวงศ์ 31 ราชวงศ์ครอบครองดินแดนทั้งหมด 45 ดินแดนในโลก ส่วนใน[[สาธารณรัฐ]] ประมุขของรัฐ (ซึ่งมักเรียกว่าประธานาธิบดี) โดยปกติแล้วมีที่มาจากการเลือกตั้ง และทำหน้าที่อยู่ในช่วงในเวลาที่แน่นอน เช่น 4 ปี 6 ปี เป็นต้น
คำว่าราชาธิปไตยนั้นอาจหมายถึงกลุ่มคน (โดยเฉพาะ[[ราชวงศ์]]) และองค์กรที่รวมตัวกันเป็นสถาบันกษัตริย์ ทุกวันนี้ อำนาจของกษัตริย์นั้นแตกต่างกันไปตามประเทศ ในระบอบ[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]นั้น กษัตริย์ดำรงตำแหน่งประมุข และศูนย์รวมจิตใจ แต่อำนาจสูงสุด (อำนาจอธิปไตย) นั้นจะอยู่ที่ประชาชน ([[ปรมิตตาญาสิทธิราชย์]]) กษัตริย์มักจะทำหน้าที่ในงานพิธีต่างๆ กษัตริย์หลายพระองค์ถูกสถาปนาขึ้นตาม[[จารีตประเพณี]]หรือตาม[[ประมวลกฎหมาย]]เพื่อไม่ให้มีอำนาจทางการเมืองอย่างแท้จริง ในบางประเทศกษัตริย์อาจมีอำนาจอยู่บ้าง แต่ก็ถูกจำกัดไว้ด้วยความเห็นของประชาชนหรือบรรทัดฐานของกษัตริย์คนก่อน ในบางประเทศกษัตริย์มีอำนาจเต็มสูงสุด ([[สมบูรณาญาสิทธิราช]])